หน้าแรก คลินิกรักษา เล็บขบ pantip

วิธีรักษา: เล็บขบ pantip

5 สาเหตุ ที่ทำให้เล็บเปลี่ยนสี เป็นโรคร้ายแรงหรือไม่

0

เล็บเปลี่ยนสี เตือนว่าคุณเป็นโรคร้ายหรือไม่

เล็บ ที่มีสุขภาพดี คือ เล็บที่มีสีออกชมพูจางๆ จากสีผิวของเนื้อข้างใต้เล็บ พื้นผิวเล็บเรียบ ผิวหนังรอบเล็บมีความแข็งแรงไม่ถอยร่น และเล็บมีความหนาไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ถ้าเล็บมีความแตกต่างไปนอกเหนือจากที่กล่าวแล้วอาจเป็นเล็บที่ไม่ปกติ และอาจเป็นสัญญาณเตือนของความผิดปกติในร่างกาย

ปรึกษาปัญหา เล็บเปลี่ยนสี คลิกที่นี่

เล็บเปลี่ยนสี ภาวะโรคทางกายมีผลกับสีของเล็บได้

  1. เล็บมีสีดำ อาจเป็นจากมะเร็งผิวหนัง เชื้อรา ไฝ หรืออาจเป็นขึ้นมาเอง กรณีมะเร็งผิวหนังมีข้อสังเกตคือ ลักษณะเล็บที่ดำจะมีลักษณะเป็นปื้นสีดำสีไม่สม่ำเสมอ เป็นแค่เล็บเดียว มีประวัติเป็นมาไม่นาน อาจมีผิวหนังที่โคนเล็บเป็นสีดำร่วมด้วย ควรรีบไปพบแพทย์ อีกภาวะหนึ่ง คือ ภาวะเลือดออกใต้เล็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกาย วิธีการสังเกตคือ ถ้าดูใกล้ ๆ จะเห็นสีของเลือดเป็นลักษณะสีแดงเข้มหรือสีม่วง และมักเกิดขึ้นกะทันหัน เช่น ไปวิ่งกลับมาแล้วพบ ซึ่งไม่จำเป็นต้องรักษา แต่หากเลือดออกเยอะ ปวดมาก สามารถเจาะเอาเลือดออกได้
  2. เล็บที่มีสีขาวครึ่งเล็บ พบได้ในคนที่เป็นโรคไตวายเรื้อรัง
  3. เล็บที่มีสีขาวสองในสามของเล็บ พบได้ในคนเป็นโรคเบาหวาน โรคตับแข็งและหัวใจวาย
  4. เล็บที่มีสีขาวเป็นแถบขวาง อาจเป็นโรคโปรตีนในร่างกายต่ำ (hypoalbuminemia) เล็บดังกล่าวเมื่อใช้มือกดไปที่เล็บ สีขาวที่เห็นจะจางลง
  5. เล็บเหลือง หนึ่งในสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของอาการเล็บสีเหลือง คือการติดเชื้อรา โดยส่วนใหญ่มักพบในเล็บเท้า แต่ก็สามารถพบที่เล็บมือได้เช่นกัน ถ้าการติดเชื้อรุนแรงขึ้น เล็บอาจหนาและงอร่วมด้วยได้

ติดต่อสอบถามรักษา เล็บเปลี่ยนสี คลิกที่นี่

Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” เรารักษาอย่างไร

  1. ทาง คลินิก Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic จะตรวจวิเคาะห์หาสาเหตุหลักของการเกิดของเล็บคุณ โดยทางคลินิกจะใช้การส่งตรวจที่แล็บของต่างประเทศ ซึ่งให้ผลตรวจที่ตรงจุดมากกว่าแล็บไทย ให้ทราบถึงสาเหตุของการเกิดโรคที่แท้จริงของคุณว่าเกิดจากอะไรกันแน่เพื่อทำการรักษาให้ตรงจุดต่อไปนั้นเอง
  2. หากเกิดจากโรค ทางคลินิกจะทำการรักษาตามอาการด้วยยาและผลิตภัณฑ์ในการรักษา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์สภาพผิวและประเมินการจ่ายยา ตามความรุนแรงและความจำเป็นในการรักษาเอง

การวินิจฉัยโรคขึ้นกับดุลยพินิจของแพทย์ โดยพิจารณาจากอาการที่แสดงออกมา

  • เมื่อแพทย์สงสัยว่าเล็บอาจจะเกิดจากเชื้อรา ควรมีการขูดขุยจากบริเวณเล็บที่หนาไปตรวจหาเชื้อราและเพาะเชื้อราแยกชนิดเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคและพยากรณ์โรคได้อย่างเหมาะสม (ใช้การส่งตรวจที่แล็บของต่างประเทศ ซึ่งให้ผลตรวจที่ตรงจุดมากกว่าแล็บไทย)
  • ในกรณีที่แพทย์สงสัยโรคมะเร็งผิวหนัง อาจต้องทำการตัดชิ้นเนื้อที่ใต้เล็บ เพื่อตรวจลักษณะทางพยาธิวิทยาเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรค (ใช้การส่งตรวจที่แล็บของต่างประเทศ ซึ่งให้ผลตรวจที่ตรงจุดมากกว่าแล็บไทย)
  • ในกรณีที่เล็บบอกถึงโรคทางกาย อาจต้องตรวจเลือด เช่น ตรวจหาระดับธาตุเหล็ก โรคไทรอยด์ โรคไตและโรคตับ

แอดไลน์ปรึกษาอาการ เล็บเปลี่ยนสี คลิกที่นี่

“Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic”คลินิก รักษาโรคผิวหนัง โรคเล็บ ผมร่วง อันดับต้นๆของ กรุงเทพ

รักษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางผิวหนังจากโรงพยาบาลชั้นนำของประเทศ ประสบการณ์มากกว่า 15 ปีเราคือผู้เชี่ยวชาญ ในการรักษาโรคผิวหนัง โรคภูมิแพ้ผิวหนัง ที่เน้นความโดดเด่นในการ รักษาโรคผม เล็บ ผิวหนัง โดยเฉพาะ อดีตอาจารย์แพทย์ รพ.รามา จบจากอเมริกา และเกาหลี นำทีมโดย พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนัง ตจแพทย์

ประสบการณ์การทำงาน

  • อาจารย์พิเศษแผนกผิวหนัง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

ผ่านการศึกษาจาก (Education)

  • Hair Restoration Training, Korea (2015)
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
  • Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
  • Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
  • Nail surgery training
  • Laser expert training
  • Hair expert training
  • Boton university usa


Seven Plus Clinic

เปิดบริการทุกวัน 10.00 – 18.00 น.

facebook : SevenPlusClinic

Messenger : SevenPlusClinic

Line : @sevenplusclinic

Phone : 02-0055552 , 094-9242294 หรือ 084 6555588

Map : ศูนย์โรคผิวหนัง เส้นผม และเล็บ เซเว่น พลัส ปากซอยพระรามเก้า 51สวนหลวง กรุงเทพมหานคร


D’Secret Clinic

facebook : Dsecretclinic

Messenger : Dsecretclinic

Line : @dsecretclinic

Phone : 02-910-2955 , 091-462-9154

Map : 67 ซ.ประชาชื่น 2 ถ.ริมคลองประปา แขวง บางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร (ร้านอยู่หัวมุมด้านซ้ายก่อนทางเข้าที่จอดรถโลตัส ประชาชื่น)


เล็บขบ หายเองได้ไหม
เล็บขบ pantip
การรักษาเล็บขบ ด้วยวิถีธรรมชาติ
วิธีตัดเล็บขบ
ยาแก้เล็บขบ
เล็บขบเน่า
เล็บขบเนื้อปูด
เล็บขบนิ้วมือ
รักษาเล็บขบ ใกล้ฉัน
รักษาเล็บขบ โรงพยาบาล
คลินิกรักษาเล็บขบ ใกล้ฉัน
การรักษาเล็บขบ ด้วยวิถีธรรมชาติ
เล็บขบ หายเองได้ไหม
รักษาเล็บขบ ราคา
รักษา เล็บขบ ด้วย มะนาว
เล็บขบ pantip
เล็บขบ หายเองได้ไหม
เล็บขบระยะแรก
การรักษาเล็บขบ ด้วยวิถีธรรมชาติ
เล็บขบ pantip
ถอดเล็บขบ
ปวดเล็บขบ ตุบๆ
ยาแก้เล็บขบ
เล็บขบเนื้อปูด
เล็บขบ หายเองได้ไหม
การรักษาเล็บขบ ด้วยวิถีธรรมชาติ
วิธีตัดเล็บขบ
เล็บขบระยะแรก
เล็บขบเน่า
เล็บขบ pantip
ถอดเล็บขบ
เจาะหนองเล็บขบ

 

4 อาการ ที่ทำให้เล็บหนาผิดปกติ

0

เล็บหนาผิดรูป และการรักษาต้องทำอย่างไร

เล็บที่มีสุขภาพดี คือ เล็บที่มีสีออกชมพูจางๆ จากสีผิวของเนื้อข้างใต้เล็บ พื้นผิวเล็บเรียบ ผิวหนังรอบเล็บมีความแข็งแรงไม่ถอยร่น และเล็บมีความหนาไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ถ้าเล็บมีความแตกต่างไปนอกเหนือจากที่กล่าวแล้วอาจเป็นเล็บที่ไม่ปกติ และอาจเป็นสัญญาณเตือนของความผิดปกติในร่างกาย

ปรึกษาปัญหา เล็บหนาผิดปกติ คลิกที่นี่

สาเหตุ ที่เล็บหนาผิดปกติ

เล็บหนาผิดปกติ มีหลายโรคที่เป็นสาเหตุ เช่น เชื้อราที่เล็บ ซึ่งนอกจากเล็บจะหนาขึ้นแล้ว เล็บอาจมีสีเปลี่ยนแปลงร่วมด้วยเป็นสีเหลืองหรือขาวหรือดำ ผิวเล็บอาจมีความขรุขระร่วมด้วย นอกจากนี้ โรคสะเก็ดเงิน ก็อาจจะมีเล็บหนาได้ แต่ต่างกับเชื้อราที่โรคสะเก็ดเงินมักจะมีอาการเล็บหนาหลายๆเล็บ ตรงข้ามกับโรคเชื้อราที่มักเป็นไม่กี่เล็บ

อาการของเชื้อราที่เล็บ ที่ทำให้เล็บหนาผิดปกติ

ในระยะแรก อาจไม่สามารถสังเกตได้ถึงอาการป่วยหรือความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเล็บ ทั้งนี้ ความผิดปกติจะเริ่มแสดงออกมาเมื่อเชื้อราเริ่มขยายตัว โดยเกิดจากขอบเล็บแล้วค่อย ๆ ขยายไปยังกลางเล็บ ซึ่งอาจเกิดขึ้นที่เล็บมือหรือเล็บเท้า และมักมีเล็บที่ติดเชื้อราประมาณ 1-3 เล็บ โดยผู้ป่วยเชื้อราในเล็บมักจะมีอาการดังนี้

  1. เล็บเปลี่ยนสี เล็บของผู้ป่วยอาจเปลี่ยนเป็นสีดำ สีขาว สีเหลือง หรือสีเขียว
  2. เล็บหนาขึ้นหรือผิดรูป เล็บของผู้ป่วยอาจมีรูปร่างผิดปกติ ซึ่งทำให้ยากต่อการตัดแต่ง
  3. มีอาการเจ็บที่เล็บ โดยเฉพาะเมื่อกดลงไปแรง ๆ บริเวณเล็บที่ติดเชื้อรา
  4. เล็บเปราะ เล็บที่ติดเชื้อราจะเปราะและแตกหักง่าย
  5. คันผิวหนังบริเวณเล็บ ในบางครั้ง ผิวหนังบริเวณเล็บที่ติดเชื้อราอาจเกิดอาการคัน บวม หรือแดง

ติดต่อสอบถามรักษา เล็บหนาผิดปกติ คลิกที่นี่

Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” เรารักษาอย่างไร

  1. เนื่องจากอาการบ่งชี้ถึงโรคนั้น อาจมีสาเหตุมาจากโรคทางผิวหนังชนิดอื่น ดังนั้น หากพบว่าเล็บหรือผิวหนังมีความผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและรับการรักษาทันที
  2. “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” ทางแพทย์จะตรวจสอบเล็บที่ผิดปกติ และอาจขูดเศษเนื้อเยื่อใต้เล็บเพื่อนำไปตรวจสอบหาชนิดของเชื้อราเพื่อหาวิธีรักษาต่อไปโดยทางคลินิกจะใช้การส่งตรวจที่แล็บของต่างประเทศ ซึ่งให้ผลตรวจที่ตรงจุดมากกว่าแล็บไทย
  3. เมื่อทราบถึงสาเหตุของการเกิดโรคที่แท้จริงของคุณว่าเกิดจากอะไรกันแน่เพื่อทำการรักษาให้ตรงจุดต่อไปนั้นเอง จึงจะทำการรักษาต่อไปตามอาการ

Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” เราเชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนัง

Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinicเป็นที่หนึ่งเรื่องการดูแลและแก้ไข เล็บที่มีปัญหา ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ นำเข้าจากต่างประเทศ บริการตรวจรักษา วินิจฉัยโดยแพทย์เฉพาะทางผิวหนังที่เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์การรักษา รวมทั้งมีเครื่องมือที่จะช่วยในการวินิจฉัยและรักษาที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ เราพร้อมให้การรักษาโรคผิวหนังทุกชนิดอย่างครบวงจร ครอบคลุมโรคต่าง ๆ เหล่านี้ ผื่นแพ้ทั้งที่เกิดจากการแพ้สารสัมผัส และสาเหตุอื่น ๆ กลุ่มโรคผิวหนังที่มีการอักเสบแต่ไม่ติดเชื้อ นำทีมแพทย์โดยพญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนัง ตจแพทย์

แอดไลน์ปรึกษาอาการ เล็บหนาผิดปกติ คลิกที่นี่

ประสบการณ์การทำงาน

  • อาจารย์พิเศษแผนกผิวหนัง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

ผ่านการศึกษาจาก (Education)

  • Hair Restoration Training, Korea (2015)
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
  • Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
  • Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
  • Nail surgery training
  • Laser expert training
  • Hair expert training
  • Boton university usa


Seven Plus Clinic

เปิดบริการทุกวัน 10.00 – 18.00 น.

facebook : SevenPlusClinic

Messenger : SevenPlusClinic

Line : @sevenplusclinic

Phone : 02-0055552 , 094-9242294 หรือ 084 6555588

Map : ศูนย์โรคผิวหนัง เส้นผม และเล็บ เซเว่น พลัส ปากซอยพระรามเก้า 51สวนหลวง กรุงเทพมหานคร


D’Secret Clinic

facebook : Dsecretclinic

Messenger : Dsecretclinic

Line : @dsecretclinic

Phone : 02-910-2955 , 091-462-9154

Map : 67 ซ.ประชาชื่น 2 ถ.ริมคลองประปา แขวง บางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร (ร้านอยู่หัวมุมด้านซ้ายก่อนทางเข้าที่จอดรถโลตัส ประชาชื่น)


 

เล็บขบ หายเองได้ไหม
เล็บขบ pantip
การรักษาเล็บขบ ด้วยวิถีธรรมชาติ
วิธีตัดเล็บขบ
ยาแก้เล็บขบ
เล็บขบเน่า
เล็บขบเนื้อปูด
เล็บขบนิ้วมือ
รักษาเล็บขบ ใกล้ฉัน
รักษาเล็บขบ โรงพยาบาล
คลินิกรักษาเล็บขบ ใกล้ฉัน
การรักษาเล็บขบ ด้วยวิถีธรรมชาติ
เล็บขบ หายเองได้ไหม
รักษาเล็บขบ ราคา
รักษา เล็บขบ ด้วย มะนาว
เล็บขบ pantip
เล็บขบ หายเองได้ไหม
เล็บขบระยะแรก
การรักษาเล็บขบ ด้วยวิถีธรรมชาติ
เล็บขบ pantip
ถอดเล็บขบ
ปวดเล็บขบ ตุบๆ
ยาแก้เล็บขบ
เล็บขบเนื้อปูด
เล็บขบ หายเองได้ไหม
การรักษาเล็บขบ ด้วยวิถีธรรมชาติ
วิธีตัดเล็บขบ
เล็บขบระยะแรก
เล็บขบเน่า
เล็บขบ pantip
ถอดเล็บขบ
เจาะหนองเล็บขบ

 

ที่คนค้นหาเกี่ยวกับเนื้อหานี้ :

วิธีการรักษาโรคเล็บขบ สาเหตุเกิดจากอะไร ทำไมต้องปรึกษาแพทย์

0

1. โรคผิวหนัง – โรคเล็บขบ (Ingrown Nail) คืออะไร

เล็บขบ หรือ เล็บคุด (Ingrown Nail) คือ โรคเล็บชนิดหนึ่งซึ่งใช้อธิบายถึงภาวะที่เล็บงอกหรือทิ่มเข้าไปที่บริเวณผิวหนังหรือเนื้อใต้เล็บหรือบริเวณผิวหนังปลายเล็บ มีผลทำให้เกิด

  1. ความเจ็บปวด
  2. การบวม
  3. แดง
  4. เป็นหนอง
  5. บางครั้งอาจทำให้เกิดการติดเชื้อขึ้นได้

เล็บขบสามารถเกิดขึ้นกับนิ้วได้ทุกนิ้วทั้งนิ้วมือและนิ้วเท้าซึ่งจะพบว่าเกิดได้บ่อยกับนิ้วเท้าโดยเฉพาะนิ้วหัวแม่เท้า แม้จะเป็นโรคที่ไม่รุนแรง แต่ก็สามารถสร้างความเจ็บปวดและรบกวนการใช้ชีวิตประจำวันของผู้ป่วยอย่างมาก และหากปล่อยไว้โดยไม่รักษาอาจนำมาซึ่งการติดเชื้อได้


2. โรคเล็บขบ สาเหตุเกิดจาก อะไรได้บ้าง

โรคเล็บขบ เกิดจากปัจจัยหลายประการสาเหตุของเล็บขบที่พบได้บ่อยมีมากมายหลายอย่างมากที่ทำให้เกิด โรคเล็บขบ ขึ้นกับคุณ ไม่ว่าจะเป็น

2.1 เล็บผิดรูป

  • มักเป็นตั้งแต่กำเนิด
  • มักจะเป็นเล็บที่กว้างกว่าพื้นเล็บ
  • ขอบเล็บมีลักษณะโค้งจิกเนื้อมากกว่าปกติ
  • การมีเล็บเท้าที่กว้างกว่าปกติหรือมีรูปร่างโค้งผิดปกติ
  • รวมถึงความบกพร่องทางพันธุกรรม

2.2 อุบัติเหตุ เช่น

  • ของหล่นใส่นิ้วเท้า
  • เดินเตะของแข็ง เช่นการเดินเตะเก้าอี้ เดินชนโต๊ะ
  • มีสิ่งของที่มีน้ำหนักมากตกใส่นิ้วมือหรือนิ้วเท้า

2.3 ใส่รองเท้าที่ไม่พอดี

  • ใส่รองเท้าหน้าแคบเกินไป (ทรงรองเท้าไม่เหมาะกับรูปเท้าของเรา)
  • ใส่รองเท้าที่สั้นเกินไป (เลือกรองเท้าผิดเบอร์ หรือเท้าโตขึ้นในเด็ก)
  • ผู้ที่ชอบใส่รองเท้าส้นสูง
  • รองเท้าประเภทที่บีบเท้าของเรามากเกินไป
  • การใส่ถุงเท้าหรือสวมรองเท้าแน่นจนเกินไป
  • จนไปกดเล็บเท้าหรือทำให้นิ้วเท้าเบียดซ้อนกัน

2.4 ตัดเล็บผิดวิธี

อันนี้น่าจะเป็นสาเหตุหลักเลยที่ใครหลายๆคนเกิดปัญหา ทำให้เกิดเป็นโรคเล็บขบได้ เช่น

  • การตัดเล็บเป็นมุมแหลมชิดเนื้อ
  • การตัดเล็บที่สั้นเกินไป
  • ตัดเล็บแบบชนิดแนบเนื้อมากเกินไป
  • การปล่อยเล็บยาวเกินไป

2.5 การเล่นกีฬาหรือทำกิจกรรมที่ทำให้กระดูกนิ้วทำงานหนัก เช่น

  • ฟุตบอล
  • บาสเกตบอล
  • บัลเล่ต์

2.6 มีเชื้อราขึ้นเล็บ

  • ทำให้เล็บหนา
  • โค้งมากกว่าปกติ

2.7 การได้รับวิตามินเอมากเกินไป ก็สามารถทำให้เกิดเล็บขบได้เช่นกัน


3. อาการของเล็บขบ เป็นอย่างไรบ้าง

ผู้ป่วยที่เป็นเล็บขบมักรู้สึกเจ็บปวดบริเวณนิ้วมือหรือนิ้วเท้าที่มีอาการ ซึ่งอาจรู้สึกเจ็บที่ด้านใดด้านหนึ่งของเล็บหรือเจ็บทั้งสองด้าน ในบางครั้งอาจพบว่ามีภาวะบวมแดงบริเวณรอบเล็บร่วมด้วย หากมีอาการรุนแรงจะทำให้รู้สึกเจ็บเวลาเดิน อาจมีเลือดออกหรือเป็นหนองหรือมีการติดเชื้อของเนื้อเยื่อที่นิ้ว รวมถึงอาจพบอาการร่วมอื่นๆ ดังนี้

3.1 เล็บขบหนอง

  • ผู้ป่วยสามารถมองเห็นก้อนหนอง
  • หรือการก่อตัวของของเหลวบริเวณรอบๆ ที่เป็นเล็บขบได้
  • ซึ่งแสดงถึงภาวะการติดเชื้อของเล็บ

3.2 เล็บขบอักเสบ

  • มีอาการบวมแดงรอบๆ เล็บมือหรือเล็บเท้า
  • ผู้ป่วยมักรู้สึกเจ็บปวดบริเวณเล็บขบทั้งสองด้าน
  • หรือด้านใดด้านหนึ่ง

3.3 เล็บขบเหม็น

  • เมื่อเป็นเล็บขบนานๆ สามารเกิดการติดเชื้อได้
  • บริเวณเนื้อมุมเล็บ
  • เนื่องจากเล็บขบจะทำให้เกิดช่องว่างระหว่างเล็บ
  • ทำให้เชื้อต่างๆ เข้าไปอาศัย
  • และทำให้เกิดกลิ่นได้

3.4 เล็บขบมีเนื้องอก

  • เป็นลักษณะของเนื้อที่ปูดออกมาข้างเล็บ
  • ซึ่งเกิดจากการอักเสบ
  • ส่วนใหญ่จะหายได้เองเมื่อผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น

4. การวินิจฉัยเล็บขบ

แพทย์สามารถวินัจฉัยเล็บขบได้จากการตรวจดูเล็บเท้าและผิวรอบ ๆ เล็บเท้าที่มีอาการ และการตรวจร่างกายบริเวณเท้า แต่ถ้าหากนิ้วเท้าดูเหมือนมีการติดเชื้อ อาจต้องทำการเอกซเรย์เพื่อดูว่าเล็บเท้าทิ่มลงไปลึกเพียงใด นอกจากนั้นการเอกซเรย์ยังช่วยในการวินิจฉัยเพิ่มเติมหากการเกิดเล็บขบมีลักษณะดังต่อไปนี้

  • กรณีที่เล็บขบมีสาเหตุมาจากการบาดเจ็บ
  • มีประวัติของการติดเชื้อเรื้อรัง
  • อาการเจ็บมีความรุนแรงขึ้น


5. การรักษาเล็บขบ

เล็บขบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อสามารถรักษาได้เองตามปกติ อย่างไรก็ตาม หากว่าเล็บเท้าทิ่มลงไปที่ผิวหนัง หรือมีสัญญาณของการติดเชื้อ เช่น มีอาการบวมแดงหรือเล็บมีหนอง ก็ควรทำการรักษาทางการแพทย์

5.1 การรักษาเล็บขบด้วยตัวเองเบื้องต้น ทำได้โดย

  1. แช่เท้าลงในน้ำอุ่นประมาน 15-20 นาที 3-4 ครั้ง ต่อวัน
  2. ทำให้ผิวแยกออกจากขอบของเล็บเท้าโดยใช้สำลีชุบน้ำมันมะกอก
  3. ใช้ยาบรรเทาอาการปวดในกรณีที่มีอาการเจ็บปวด
  4. การใช้ยาปฏิชีวนะ เช่น
  • ยาโพลิมิกซิน (Polymyxins) เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
  • ครีมสเตียรอยด์เพื่อลดการอักเสบ

หากการรักษาด้วยตัวเองเบื้องต้นไม่ทำให้อาการดีขึ้นหรือเกิดการติดเชื้อขึ้น อาจจำเป็นต้องทำการรักษาทางการแพทย์หรือผ่าตัด ซึ่งจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการ โดยวิธีหลัก ๆ ได้แก่

5.2 การรักษาทางการแพทย์หรือผ่าตัด

  1. การเอาเล็บเท้าออกบางส่วน (Partial Nail Avulsion)
  • โดยเอาชิ้นเล็บที่แทงลงไปในผิวหนังออก
  • ในขั้นตอนนี้แพทย์จะต้องใช้ยาชาที่นิ้วเท้า
  • ก่อนการตัดแต่งหรือเอาเล็บออก
  1. การเอาเล็บเท้าออกทั้งหมด (Total Nail Avulsion)
  • วิธีนี้จะใช้ในกรณีของเล็บขบที่มีเล็บหนา
  • และกดลงไปในผิวหนัง
  • โดยขั้นตอนการเอาเล็บออกทั้งเล็บนี้เรียกว่า Matrixectomy
  1. การยกเล็บขึ้น (Lifting the Nail)
  • สำหรับในรายที่เป็นน้อยแค่เพียงบวมแดง
  • ไม่มีหนอง
  • ไม่มีความจำเป็นต้องผ่าตัด
  • ในวิธีนี้แพทย์จะใช้ไหมหรือสำลียกขอบเล็บให้พ้นขอบของผิวหนัง
  • ไม่ให้เล็บงอกเข้าไปในเนื้อ

5.3 ข้อปฏิบัติหลังการรักษาทางการแพทย์หรือผ่าตัด

หลังจากการผ่าตัดหรือการเอาเล็บออกนั้น แพทย์จะพันผ้าพันแผลเอาไว้เพื่อซับเลือดที่ยังคงไหลซึมและป้องกันการติดเชื้อ นอกจากนั้น ควรพักเท้า ไม่ควรขยับหรือเคลื่อนไหวมากเกินไป และควรยกขาให้สูงไว้ใน 1-2 วันแรกหลังผ่าตัด และเพื่อลดความเจ็บปวดที่อาจเกิดขึ้น อาจใช้ยาแก้ปวด เช่น

  1. ยาพาราเซตามอล
  2. ไอบูโพรเฟน
  3. ควรสวมใส่รองเท้าที่มีความนิ่ม
  4. เผยส่วนนิ้วเท้าในช่วงวันแรก ๆ หลังผ่าตัด

นอกจากนั้น แพทย์อาจให้ทาหรือรับประทานยาปฏิชีวนะและยาลดการอักเสบติดเชื้อ


6. ภาวะแทรกซ้อนของเล็บขบ เกิดจากอะไรได้บ้าง

6.1 หากปล่อยให้เป็นเล็บขบที่มีการติดเชื้อโดยที่ไม่ทำการรักษา อาจทำให้เกิด

  • การติดเชื้อในกระดูกนิ้วเท้าได้
  • การติดเชื้อที่เล็บเท้าสามารถทำให้เป็นแผลอักเสบพุพองที่เท้า
  • ขาดเลือดหมุนเวียนบริเวณที่ติดเชื้อ
  • รวมไปถึงอาจเกิดการตายของเนื้อเยื่อบริเวณที่มีการติดเชื้อ

6.2 การติดเชื้อที่เท้าเป็นเรื่องที่มีความรุนแรงหากเป็นเบาหวาน ซึ่งการเป็นเล็บขบอาจกลายไปเป็นการติดเชื้อได้อย่างรวดเร็วเนื่องจาก

  • ผู้ที่เป็นเบาหวานจะขาดการไหลเวียนโลหิตมายังบริเวณนิ้วเท้า
  • มีปัญหาชาบริเวณเท้า
  • จึงควรพบแพทย์โดยเร็วหากเป็นเล็บขบที่มีการติดเชื้อ

6.3 หากมีความผิดปกติทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับเล็บขบ อาจทำให้สามารถเกิดเล็บขบขึ้นได้บ่อย ๆ หรือสามารถเกิดขึ้นหลาย ๆ นิ้วพร้อมกันในหนึ่งครั้งได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เช่น

  • มีความเจ็บปวด
  • การติดเชื้อ
  • อาการเจ็บปวดอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นกับเท้า
  • ที่ต้องรับการรักษาหรือการผ่าตัดหลายประการ

7. อาการที่บ่งบอก ว่าคุณควรพบแพทย์ เพื่อรักษาเล็บขบ

Dsecret clinic คลินิก ให้บริการดูแลรักษาโรคเล็บขบหายขาดมามากกว่า 10,000 เดส หากคุณพบว่าเล็บเท้าของคุณทิ่มลงไปที่ผิวหนังหรือมีสัญญาณของการติดเชื้อต่างๆ เช่น

  • มีอาการบวมแดง
  • มีหนอง

ควรรับการรักษาทางการแพทย์อย่างถูกต้อง ไม่ควรทำการรักษาเล็บขบด้วยตนเองเนื่องจากอาจทำให้อาการแย่ลงได้ Dsecret clinic คลินิก เรามีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังเฉพาะทาง จบ ปริญญาโท จากสหรัฐอเมริกา ที่ลงมือดูแลคนไข้เองทุกเคสด้วยระดับมืออาชีพ การันตีด้วยประสบการณ์การรักษามากกว่า 10,000 เคส พร้อมผลลัพธ์ที่ดีที่สุดและความประทับใจของคนไข้จริงจนต้องบอกต่อ เรามี

  • แพทย์เฉพาะทางผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนังโดยเฉพาะ
  • ไว้พร้อมดูแลและให้คำปรึกษาคุณในทุกๆ เรื่อง
  • เพราะเราใส่ใจในความรู้สึกและปัญหาของคุณ
  • เรารักษาด้วยเทคโนโลยีล่าสุดของการรักษาเล็บขบ
  • เน้นที่การรักษาให้หายขาด

เราพร้อมให้บริการที่ยอดเยี่ยม มีทีมงานคอยบริการคุณทุกคนอย่างดี ใส่ใจคนไข้ทุกคนไม่ว่าปัญหาของคุณจะเล็กมากแค่ไหนแต่นั้นคือเรื่องสำคัญของเราเสมอ


ประสบการณ์ มากกว่า 15 ปีของ พญ. มริญญา ผ่องผุดพันธ์

ประสบการณ์การทำงาน

  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพบาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

ผ่านการศึกษาจาก ( Education )

  • Hair Restoration Training, Korea (2015)
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
  • Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
  • Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
  • Nail surgery training
  • Laser expert training
  • Hair expert training
  • Boton university usa

ที่คนค้นหาเกี่ยวกับเนื้อหานี้ :