หน้าแรก คลินิกรักษา โรคผิวหนัง พระมงกุฎ

วิธีรักษา: โรคผิวหนัง พระมงกุฎ

“ติ่งเนื้อ” เป็นสัญญาณโรคร้าย หรือไม่

0

“ติ่งเนื้อ” เป็นสัญญาณโรคร้าย หรือไม่

ติ่งเนื้อเป็นส่วนเกินที่สร้างความความงุนงงว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้นกับผิวหนังหรือไม่  กล่าวคือ ติ่งเนื้อไม่ใช่เนื้อร้าย และไม่กลายเป็นมะเร็งผิวหนัง แต่ทำให้เกิดความน่ารำคาญจากอาการคัน  ทำให้เกิดความกังวลต่อสภาพผิวหนัง โดยที่หลายคนสงสัยว่าอาจจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือเป็นการบ่งบอกโรคอื่น


ติ่งเนื้อคืออะไรกันแน่

ติ่งเนื้อคือ ก้อนเนื้อเล็กมีลักษณะนุ่ม ซึ่งเกิดขึ้นมาและเป็นติ่งอยู่บนผิวหนัง ทั่วทั้งบริเวณร่างกาย มีสีและขนาดแตกต่างกันไป มีขนาดเล็กไปจนถึงประมาณ 2 นิ้ว

  • ติ่งเนื้อไม่ใช่เนื้อร้าย และไม่กลายเป็นมะเร็งผิวหนัง
  • บริเวณผิวหนังที่เป็นข้อพับมักเกิดติ่งเนื้อ เช่น คอ รักแร้ ใต้ราวนม
  • ผู้ที่มีติ่งเนื้ออาจรู้สึกระคายเคืองในกรณีที่ติ่งเนื้อเสียดสีกับเสื้อผ้า
  • ผู้ที่มีอายุมากขึ้นอาจเกิดติ่งเนื้อได้ โดยทั่วไปอายุ 50-60 ปี ขึ้นไป
  • มีแนวโน้มเกิดขึ้นกับผู้ที่น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น หรือ ตั้งครรภ์
  • มีบุคคลในครอบครัวเคยเกิดติ่งเนื้อ

ความอันตรายของติ่งเนื้อ?

ติ่งเนื้อเกิดจากผิวหนังล้อมรอบเส้นใยคอลลาเจนและเส้นเลือด คอลลาเจนดังกล่าวเป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่พบได้ตามร่างกายโดยเฉพาะที่ผิวหนัง ผู้ที่อายุมากมักมีติ่งเนื้อขึ้นมา สาเหตุที่ทำให้เกิดติ่งเนื้อยังไม่แน่ชัด  มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดติ่งเนื้อได้ ดังนี้

  • ภาวะดื้ออินซูลิน และภาวะน้ำตาลผิดปกติ
  • ภาวะอ้วนสามารถเกิดติ่งเนื้อจำนวนมากตามผิวหนังบริเวณคอและรักแร้
  • การตั้งครรภ์ที่มีปัญหาระบบต่อมไร้ท่อและภาวะฮอร์โมนไม่สมดุล
  • เชื้อเอชพีวีเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดติ่งเนื้อได้ด้วย
  • พันธุกรรม จากคนในครอบครัว เสี่ยงเกิดติ่งเนื้อได้

ดังนั้นถ้าใครมีติ่งเนื้อขึ้นมาผิดปกติ ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ควรเข้าพบแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจและวินิจฉัย โดยแพทย์จะตรวจดูติ่งเนื้อที่เกิดขึ้น ว่าอันตรายหรือไม่และควรจะรักษาอย่างไรต่อไป

อาการของติ่งเนื้อ

ติ่งเนื้อที่เพิ่งขึ้นบนผิวหนัง นั่นต้องแน่ใจว่าไม่ใช่หูดหรือ ไฝ จึงจำเป็นต้องสังเกตุอาการเสมอว่าเป็นสัญญาณของโรคร้ายหรือไม่ เราจึงจำเป็นต้องสังเกตอาการของติ่งเนื้อดังนี้

  • ติ่งเนื้อที่เพิ่งขึ้นบนผิวหนังสีจะค่อยๆสีเปลี่ยนเป็นสีเดียวกับผิวหนัง
  • ไม่ก่อให้เกิดอาการเจ็บปวดใด
  • อาจรู้สึกระคายเคืองบ้างหากเสียดสีกับเสื้อผ้า
  • ถ้าก้านที่ยึดติ่งเนื้อถูกบิดจะเกิดลิ่มเลือดภายในติ่งเนื้อและรู้สึกเจ็บได้
  • ติ่งเนื้อมักขึ้นที่คอ รักแร้ กลางลำตัว บริเวณผิวหนังที่ย่นทับกัน
  • ติ่งเนื้อมีลักษณะคล้ายหูดหรือไฝ ซึ่งกลายเป็นเนื้อร้ายได้

          ดังนั้นผู้ที่มีติ่งเนื้อตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย จึงควรเข้าพบแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจและวินิจฉัย โดยแพทย์จะตรวจดูติ่งเนื้อที่เกิดขึ้น ว่าควรจะรักษาอย่างไรต่อไป

สร้างความสบายใจด้วยการกำจัดติ่งเนื้อ

          การรักษาติ่งเนื้อที่ขึ้นตามผิวหนังของร่างกาย โดยติ่งเนื้อไม่ใช่เนื้อร้ายหรือกลายเป็นมะเร็งได้ แต่ติ่งเนื้ออาจกลายเป็นภาวะก่อนเป็นมะเร็งหรือเป็นมะเร็ง ซึ่งพบได้ไม่บ่อย ผู้ที่ต้องการกำจัดติ่งเนื้อควรปรึกษาแพทย์ให้รอบคอบถึงวิธีกำจัดติ่งเนื้อด้วยวิธีทางการแพทย์

  • ผ่าตัดติ่งเนื้อ ง่ายแต่มีความเสี่ยงเลือดออก
  • บำบัดด้วยความเย็นจัด รักษาผิวหนัง ช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวด
  • จี้ติ่งเนื้อ ใช้ไฟจี้ติ่งเนื้อให้เกิดการระคายเคืองและหลุดออกไป

ดังนั้น  การรักษาติ่งเนื้อทางที่ดีเราควรเข้าปรึกษาแพทย์ผิวหนังเฉพาะทาง ที่มีความรู้ความสามารถด้านติ่งเนื้อโดยเฉพาะ  เพื่อให้การรักษา / กำจัดติ่งเนื้อ เป็นไปด้วยดี หายขาด ทำให้มีผิวเรียบเนียน

            ปัจจุบัน “ Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic ” มีเทคโนโลยีการทางแพทย์หลากหลายรูปแบบที่ช่วยดูแลปัญหาติ่งเนื้อ  โดยใช้เทคนิคพิเศษ ของทางคลินิค โดย วิธีการรักษานี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และดุลยพินิจของแพทย์ทาง “ Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic ” โดย พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนัง ตจแพทย์ ผู้มีประสบกานณ์ อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง  อาจารย์พิเศษเเผนกผิวหนัง ม.เเม่ฟ้าหลวง อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพบาบาลรามาธิบดี แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ ที่มีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี  รอให้คำแนะนำและให้คำปรึกษาทุกเรื่องปัญหาที่เกี่ยวกับผิวและเล็บของคุณ

ติดต่อสอบถาม รักษาติ่งเนื้อ คลิกที่นี่


Dsecret clinic คลินิกรักษาโรคผิวหนังอันดับ 1

Dsecret clinic คลินิก นำทีมบริหาโดย คุณกิ๊ก มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ และ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังเฉพาะทาง จบ ปริญญาโท จากสหรัฐอเมริกา ที่ลงมือดูแลคนไข้เองทุกเคสด้วยระดับมืออาชีพ การันตีด้วยประสบการณ์การรักษามากกว่า 10,000 เคส พร้อมผลลัพธ์ที่ดีที่สุดและความประทับใจของคนไข้จริง จนต้องบอกต่อด้วยเหตุผลหลากหลายประการ

  • โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์กว่า 14 ปี
  • เน้นการรักษาให้หายจริง
  • รอยจางเร็ว
  • เห็นผลจริง
  • การใช้เทคโนโลยีบำบัดด้วยความเย็นจัด (Cryotherapy)
  • การผ่าตัดติ่งเนื้อ ทำโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังเฉพาะทาง

คุณณหมอมือเบามากถึงมากที่สุด หลังผ่าตัด หรือใช้เทคโนโลยีบำบัดด้วยความเย็นจัด (Cryotherapy) เสร็จจะเห็นได้เลยว่าไม่มีบวม ไม่มีแดง และที่สำคัญไม่แสบผิว แต่ยังคงได้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดบ่งบอกถึงความใส่ใจในทุกขั้นตอนการรักษาที่ทางคลินิกมอบให้กับคนไข้ทุกเคส การันตีได้ว่า หน้าใส ติ่งเนื้อหายไปอย่างแน่นอน

 

ประสบการณ์ มากกว่า 15 ปีของ พญ. มริญญา ผ่องผุดพันธ์

ประสบการณ์การทำงาน

  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพบาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

ผ่านการศึกษาจาก ( Education )

  • Hair Restoration Training, Korea (2015)
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
  • Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
  • Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
  • Nail surgery training
  • Laser expert training
  • Hair expert training
  • Boton university usa

 

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ติ่งเนื้อ ขาหนีบ เกิดจาก
ติ่งเนื้อ pantip
ติ่งเนื้อที่หัว
ตัดติ่งเนื้อ ประกันสังคม
ติ่งเนื้อ มะเร็ง
ติ่งเนื้อ รักแร้ pantip
แผ่นแปะติ่งเนื้อ
ติ่งเนื้อเปลือกตา

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ยาแต้มติ่งเนื้อ ซื้อที่ไหน
ยาแต้ม ติ่งเนื้อ ร้าน ขายยา
ครีมกําจัดติ่งเนื้อ ยี่ห้อไหนดี
วิธีกําจัดติ่งเนื้อ ด้วยปูนแดง
7 วิธี กำจัดติ่งเนื้อ
แผ่นแปะติ่งเนื้อ pantip
สบู่กําจัดติ่งเนื้อที่คอ
แผ่นแปะติ่งเนื้อ

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ตัดติ่งเนื้อ โรงพยาบาลรัฐ
เลเซอร์ติ่งเนื้อ ใกล้ฉัน
จี้ติ่งเนื้อ pantip
จี้ติ่งเนื้อ นิติพล
กําจัดติ่งเนื้อ pantip
เลเซอร์กระเนื้อ ที่ไหนดี 2020
เลเซอร์ติ่งเนื้อ ราคา
รีวิว ยากําจัดติ่งเนื้อ

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ติ่งเนื้อที่หัว
แผ่นแปะติ่งเนื้อ
ติ่งเนื้อ ขาหนีบ เกิดจาก
ติ่งเนื้อ รักแร้ pantip
ติ่งเนื้อที่อัณฑะ
ติ่งเนื้อเปลือกตา
ติ่งเนื้อ pantip
ติ่งเนื้อ มะเร็ง

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ติ่งเนื้อ pantip
ตัดติ่งเนื้อ ประกันสังคม
ติ่งเนื้อที่หัว
แผ่นแปะติ่งเนื้อ
ติ่งเนื้อ ขาหนีบ เกิดจาก
ติ่งเนื้อเปลือกตา
ตัดติ่งเนื้อ โรงพยาบาล
ติ่งเนื้อ รักแร้ pantip

 

ติ่งเนื้อ บนผิวหนัง อันตรายหรือไม่ และสาเหตุเกิดจากอะไร

0

1. โรคผิวหนัง – ติ่งเนื้อ (Skin Tags/Acrochordon)

 

“ติ่งเนื้อ”  ทิ้งไว้จะกลายเป็นมะเร็งหรือไม่? ส่วนเกินที่สร้างความน่ารำคาญ อาการคัน และสร้างความกังวลต่อสภาพผิวหนัง ที่หลายคนสงสัยว่าอาจจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือเป็นการบ่งบอกโรคอื่นหากลองสังเกตผิวของพ่อแม่ของเราที่อายุเกิน 50 ขึ้นไป เราอาจจะพบ “ติ่งเนื้อ” ที่มีลักษณะคล้ายไฝ หรือขี้แมลงวันเล็กๆ แต่มันปูดออกมา ติดเนื้อเป็นติ่งๆ ดูเหมือนอะไรติดผิวหนังแบบที่หยิบดึงออกมาได้ มีทั้งสีคล้ำอย่างดำ น้ำตาล ไปจนถึงสีเนื้อ เหลือง หรือสีชาๆ คล้ายน้ำชา

นอกจากผู้ใหญ่แล้ว คนอายุ 30 ปีบางคนก็พบติ่งเนื้อแล้ว ติ่งเนื้อเป็นอันตราย หรือเป็นสัญญาณบอกโรคร้ายอะไรหรือไม่ Dsecret clinic คลินิก มีคำตอบค่ะ


2. ติ่งเนื้อ (Skin Tags/Acrochordon) คืออะไร

 

ติ่งเนื้อ คือ ก้อนเนื้อเล็กมีลักษณะนุ่ม ซึ่งเกิดขึ้นมาและเป็นติ่งอยู่บนผิวหนัง มีสีและขนาดแตกต่างกันไป โดยมีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงประมาณ 2 นิ้ว ติ่งเนื้อไม่ใช่เนื้อร้าย และไม่กลายเป็นมะเร็งผิวหนัง โดยทั่วไปแล้ว บริเวณผิวหนังที่เป็นข้อพับมักเกิดติ่งเนื้อ เช่น

  • คอ
  • รักแร้
  • ลำตัว
  • ใต้ราวนม
  • หรือบริเวณหัวหน่าว

ผู้ที่มีติ่งเนื้ออาจรู้สึกระคายเคืองในกรณีที่ติ่งเนื้อเสียดสีกับเสื้อผ้าหรือเครื่องประดับ ทั้งนี้ ผู้ที่มีอายุมากขึ้นอาจเกิดติ่งเนื้อได้ พบได้ทั่วไปสำหรับผู้ที่มีอายุ 50-60 ปี ขึ้นไป และมีแนวโน้มเกิดขึ้นกับผู้ที่น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ตั้งครรภ์ หรือมีบุคคลในครอบครัวเคยเกิดติ่งเนื้อ

 


3. ติ่งเนื้อ เกิดจากสาเหตุ อะไร

 

ติ่งเนื้อเกิดจากผิวหนังล้อมรอบเส้นใยคอลลาเจนและเส้นเลือด คอลลาเจนดังกล่าวเป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่พบได้ตามร่างกายโดยเฉพาะที่ผิวหนัง ผู้ที่อายุมากมักมีติ่งเนื้อขึ้นมา ส่วนเด็กเล็กหรือทารกอาจมีติ่งเนื้อขึ้นมาบ้าง สาเหตุที่ทำให้เกิดติ่งเนื้อยังไม่ปรากฏแน่ชัด อย่างไรก็ตาม มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดติ่งเนื้อได้ ดังนี้

  1. ภาวะดื้ออินซูลิน ภาวะนี้คือภาวะที่นำไปสู่โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และภาวะน้ำตาลผิดปกติ (Prediabetes) โดยภาวะดื้ออินซูลินอาจเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดติ่งเนื้อ เนื่องจากร่างกายดูดซึมน้ำตาลกลูโคสจากกระแสเลือดได้ไม่ดี ทั้งนี้ งานวิจัยชิ้นหนึ่งได้แสดงให้เห็นว่าติ่งเนื้อเกี่ยวเนื่องกับดัชนีมวลกายที่มาก ภาวะไตรกลีเซอร์ไรด์สูง และภาวะดื้ออินซูลิน
  2. ภาวะอ้วน ผู้ที่ประสบภาวะอ้วน จะป่วยเป็นโรคผิวหนังช้าง (Acanthosis Nigricans) โดยโรคนี้จะเกิดติ่งเนื้อจำนวนมากตามผิวหนังบริเวณคอและรักแร้
  3. การตั้งครรภ์ ติ่งเนื้ออาจเป็นผลข้างเคียงจากการตั้งครรภ์ เนื่องจากผู้ที่ตั้งครรภ์จะมีระดับฮอร์โมนและน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ติ่งเนื้ออาจเป็นสัญญาณของปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อและภาวะฮอร์โมนไม่สมดุล
  4. เชื้อเอชพีวี งานวิจัยบางชิ้นได้ศึกษาติ่งเนื้อจำนวน 37 ชิ้น ที่ขึ้นตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย พบว่าติ่งเนื้อจำนวนร้อยละ 50 ปรากฏดีเอ็นเอของเชื้อเอชพีวี (Human Papillomavirus: HPV) จึงกล่าวได้ว่าเชื้อเอชพีวีอาจเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดติ่งเนื้อ
  5. พันธุกรรม ผู้ที่บุคคลในครอบครัวเคยมีติ่งเนื้อขึ้นตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อาจเสี่ยงเกิดติ่งเนื้อได้

 

 


4. การวินิจฉัยติ่งเนื้อ ปรึกษาจากแพทย์โรคผิวหนัง

 

ผู้ที่เกิดติ่งเนื้อตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ควรพบแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจและวินิจฉัย โดยแพทย์จะตรวจดูติ่งเนื้อที่เกิดขึ้น แบ่งออกเป็นลักษณะใหญ่ๆ 2 ลักษณะดังนี้

4.1 แบบที่ไม่จำเป็นต้องรับการตรวจอย่างอื่นเพิ่มเติม

  • ผู้ที่เกิดติ่งเนื้อลักษณะนุ่ม
  • กดหรือขยับติ่งเนื้อไปมาได้
  • ติ่งเนื้อมีสีเดียวกับผิวหนังหรือเข้มเล็กน้อย
  • รวมทั้งมีก้านของติ่งเนื้อยึดติ่งเนื้อไว้กับผิวหนัง
  • ส่วนผู้ที่ติ่งเนื้อมีสีแตกต่างจากผิวหนัง มีหลายสี

4.2 แบบที่จำเป็นต้องรับการตรวจอย่างอื่นเพิ่มเติม

  • ติ่งเนื้อแกว่งไปมา
  • รวมทั้งมีลักษณะเป็นเนื้อสดและมีเลือดออก
  • ควรเข้ารับการตรวจโดยแพทย์ ทั้งนี้ แพทย์จะนำชิ้นติ่งเนื้อไปตรวจในกรณีที่ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าก้อนนูนที่ขึ้นมาบนผิวหนังเป็นติ่งเนื้อหรือไม่

 

5. “ติ่งเนื้อผิวหนัง” โดยทั่วไปจำเป็นต้องรักษา หรือไม่

เพราะไม่ได้ก่อให้เกิดอาการอะไร ไม่เปลี่ยนไปเป็นมะเร็ง และไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย แต่การมีจำนวนติ่งเนื้อที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจมีความสัมพันธ์เกี่ยวกับ “เนื้องอกในลำไส้” แต่ยังไม่มีหลักฐานข้อมูลที่ชัดเจน เพราะปกติแล้วติ่งเนื้อจะไม่ค่อยสัมพันธ์กับโรคภายในร่างกาย เป็นลักษณะการเปลี่ยนแปลงในวัยที่เพิ่มขึ้น หรือเป็นพันธุกรรมมากกว่า ติ่งเนื้อที่พบในผู้ใหญ่มักจะเป็นถาวร

  • หากไม่ได้ทำการตัดออก
  • แต่หากเป็นติ่งเนื้อขนาดใหญ่ เช่นขนาดเกิน 5 มิลลิเมตร
  • หรือโตเร็วผิดปกติ
  • ควรไปพบแพทย์ ตรวจเช็ดว่าเป็นติ่งเนื้อธรรมดา หรือเป็นเนื้องอกที่มีอันตราย

 


6.  วิธีการการรักษาติ่งเนื้อ มีอะไรบ้าง

ติ่งเนื้อคือก้อนเนื้อชนิดหนึ่งที่ขึ้นตามผิวหนังของร่างกาย โดยทั่วไปแล้ว ติ่งเนื้อไม่ใช่เนื้อร้ายหรือกลายเป็นมะเร็งได้ อย่างไรก็ตาม ติ่งเนื้ออาจกลายเป็นภาวะก่อนเป็นมะเร็งหรือเป็นมะเร็ง ซึ่งพบได้ไม่บ่อยนัก ผู้ที่ต้องการกำจัดติ่งเนื้อควรปรึกษาแพทย์ให้รอบคอบ ส่วนใหญ่แล้ว มักกำจัดติ่งเนื้อออกเพื่อความสวยงาม โดยมีวิธีรักษาหลายวิธี ดังนี้

6.1 วิธีกำจัดติ่งเนื้อด้วยวิธีทางการแพทย์

การกำจัดติ่งเนื้อด้วยวิธีทางการแพทย์มีหลายลักษณะ ได้แก่ ผ่าตัดติ่งเนื้อ บำบัดด้วยความเย็นจัด และจี้ติ่งเนื้อ ดังนี้

  1. ผ่าตัดติ่งเนื้อ วิธีนี้จะช่วยกำจัดติ่งเนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ก็เสี่ยงเกิดเลือดออกได้มาก
  2. บำบัดด้วยความเย็นจัด (Cryotherapy) วิธีนี้จะรักษาติ่งเนื้อด้วยอุณหภูมิเย็นจัด
  3. อีกทั้งยังใช้รักษาผิวหนังบริเวณที่เกิดอาการเจ็บปวดจากเส้นประสาท มะเร็งบางชนิด หรือเซลล์ผิวหนังที่เกิดความผิดปกติ
  4. โดยแพทย์จะสอดอุปกรณ์สำหรับรักษาเข้าไปข้างในเนื้อเยื่อที่อยู่ใกล้กับบริเวณที่เส้นประสาทถูกทำลาย และลดอุณหภูมิของเครื่องมือจนเย็นจัด
  5. เพื่อแช่แข็งเส้นประสาท ซึ่งจะช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดหรือระคายเคือง
  6. จี้ติ่งเนื้อ (Cauterization) วิธีนี้จะใช้ไฟจี้ติ่งเนื้อที่มีสีผิดปกติหรือทำให้เกิดการระคายเคือง ให้หลุดออกไป

6.2 วิธีกำจัดติ่งเนื้อด้วยตนเอง

ส่วนใหญ่แล้ว ผู้ที่มีติ่งเนื้อไม่ควรเอาติ่งเนื้อออกเอง เนื่องจากอาจทำให้เลือดออกมาก อาจจะติดเชื้อ และเป็นอันตรายขั้นรุนแรง กับตัวท่านเอง

 


7. วิธีการป้องกัน ติ่งเนื้อ ไม่ให้เกิดซ้ำ ต้องทำอย่างไร

ส่วนใหญ่แล้ว ติ่งเนื้อไม่ได้เป็นเนื้อร้าย ผู้ที่มีติ่งเนื้ออาจรู้สึกระคายเคืองผิวหนังเมื่อติ่งเนื้อเสียดสีกับเสื้อผ้า ทั้งนี้  ติ่งเนื้อจะไม่เกิดขึ้นซ้ำเมื่อนำออกไป แต่อาจเกิดติ่งเนื้อขึ้นส่วนอื่นของร่างกายแทน วิธีป้องกันติ่งเนื้อยังไม่ปรากฏอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ติ่งเนื้อเป็นภาวะที่เลี่ยงได้ โดยควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้มากเกินไปจนประสบภาวะอ้วนอันเป็นปัจจัยเสี่ยงของติ่งเนื้อ รวมทั้งสังเกตดูว่าก้อนนูนที่ขึ้นตามผิวหนังนั้นเป็นติ่งเนื้อ หูด หรือเนื้อร้ายอื่น ๆ ที่ต้องเข้ารับการรักษา หากพบลักษณะก้อนเนื้อที่นูนขึ้นมามีลักษณะต่อไปนี้ ควรพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาทันที

  • ก้อนเนื้อมีลักษณะแข็งและพื้นผิวมีลักษณะผิดปกติ
  • ก้อนเนื้อนูนขึ้นมา ไม่ได้โผล่ออกมาเป็นติ่ง
  • แพร่เชื้อหรือเกิดการติดต่อได้ง่าย
  • ก้อนเนื้อมีเลือดออก ทำให้คัน และสีเปลี่ยน ซึ่งอาจเป็นสัญญาณของปัญหาสุขภาพร้ายแรง


8. Dsecret clinic คลินิกรักษาโรคผิวหนังอันดับ 1

 

Dsecret clinic คลินิก นำทีมบริหาโดย คุณกิ๊ก มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ และ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังเฉพาะทาง จบ ปริญญาโท จากสหรัฐอเมริกา ที่ลงมือดูแลคนไข้เองทุกเคสด้วยระดับมืออาชีพ การันตีด้วยประสบการณ์การรักษามากกว่า 10,000 เคส พร้อมผลลัพธ์ที่ดีที่สุดและความประทับใจของคนไข้จริง จนต้องบอกต่อด้วยเหตุผลหลากหลายประการ

  • โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์กว่า 14 ปี
  • เน้นการรักษาให้หายจริง
  • รอยจางเร็ว
  • เห็นผลจริง
  • การใช้เทคโนโลยีบำบัดด้วยความเย็นจัด (Cryotherapy)
  • การผ่าตัดติ่งเนื้อ ทำโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังเฉพาะทาง

คุณณหมอมือเบามากถึงมากที่สุด หลังผ่าตัด หรือใช้เทคโนโลยีบำบัดด้วยความเย็นจัด (Cryotherapy) เสร็จจะเห็นได้เลยว่าไม่มีบวม ไม่มีแดง และที่สำคัญไม่แสบผิว แต่ยังคงได้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดบ่งบอกถึงความใส่ใจในทุกขั้นตอนการรักษาที่ทางคลินิกมอบให้กับคนไข้ทุกเคส การันตีได้ว่า หน้าใส ติ่งเนื้อหายไปอย่างแน่นอน

 


ประสบการณ์ มากกว่า 15 ปีของ พญ. มริญญา ผ่องผุดพันธ์

ประสบการณ์การทำงาน

  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพบาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

ผ่านการศึกษาจาก ( Education )

  • Hair Restoration Training, Korea (2015)
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
  • Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
  • Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
  • Nail surgery training
  • Laser expert training
  • Hair expert training
  • Boton university usa

 

 

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ติ่งเนื้อ ขาหนีบ เกิดจาก
ติ่งเนื้อ pantip
ติ่งเนื้อที่หัว
ตัดติ่งเนื้อ ประกันสังคม
ติ่งเนื้อ มะเร็ง
ติ่งเนื้อ รักแร้ pantip
แผ่นแปะติ่งเนื้อ
ติ่งเนื้อเปลือกตา

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ยาแต้มติ่งเนื้อ ซื้อที่ไหน
ยาแต้ม ติ่งเนื้อ ร้าน ขายยา
ครีมกําจัดติ่งเนื้อ ยี่ห้อไหนดี
วิธีกําจัดติ่งเนื้อ ด้วยปูนแดง
7 วิธี กำจัดติ่งเนื้อ
แผ่นแปะติ่งเนื้อ pantip
สบู่กําจัดติ่งเนื้อที่คอ
แผ่นแปะติ่งเนื้อ

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ตัดติ่งเนื้อ โรงพยาบาลรัฐ
เลเซอร์ติ่งเนื้อ ใกล้ฉัน
จี้ติ่งเนื้อ pantip
จี้ติ่งเนื้อ นิติพล
กําจัดติ่งเนื้อ pantip
เลเซอร์กระเนื้อ ที่ไหนดี 2020
เลเซอร์ติ่งเนื้อ ราคา
รีวิว ยากําจัดติ่งเนื้อ

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ติ่งเนื้อที่หัว
แผ่นแปะติ่งเนื้อ
ติ่งเนื้อ ขาหนีบ เกิดจาก
ติ่งเนื้อ รักแร้ pantip
ติ่งเนื้อที่อัณฑะ
ติ่งเนื้อเปลือกตา
ติ่งเนื้อ pantip
ติ่งเนื้อ มะเร็ง

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ติ่งเนื้อ pantip
ตัดติ่งเนื้อ ประกันสังคม
ติ่งเนื้อที่หัว
แผ่นแปะติ่งเนื้อ
ติ่งเนื้อ ขาหนีบ เกิดจาก
ติ่งเนื้อเปลือกตา
ตัดติ่งเนื้อ โรงพยาบาล
ติ่งเนื้อ รักแร้ pantip

 

ที่คนค้นหาเกี่ยวกับเนื้อหานี้ :

วิธีแก้ปัญหา ผมร่วง ผมบาง – สาเหตุ เกิดจากอะไร

0

1.  โรคผมร่วง ผมบาง คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร

การที่เส้นผมร่วงประมาณวันละ 50-100 เส้นนั้น เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการงอกของเส้นผมใหม่ ผมร่วงต่อเนื่องนั้นเป็นเรื่องปกติ ยกเว้นเมื่อคุณพบว่าผมร่วงในปริมาณที่มาก หากผมของคุณร่วงมากกว่าระดับดังกล่าว หรือพบว่ามี

  1. ผมหลุดร่วงติดมือในปริมาณมาก
  2. เมื่อสางหรือใช้หวีแปรง
  3. ขณะอาบน้ำ สระผม

นั่นแสดงว่าผมคุณร่วงมากกว่าปกติและเป็นสัญญาณบอกว่าผมของคุณอ่อนแอด้วยกรณีใดกรณีหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น ผมเสีย ผมขาดความชุ่มชื้น หรือมีปัญหาผิวหนัง


2.  สาเหตุของผมร่วง ผมบาง อาการเริ่มผิดปกติ

ไม่มีใครอยากผมบางหรือหัวล้าน แต่ก็มีหลายคนที่ประสบปัญหา “ผมร่วง” โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด  วันนี้ ศูนย์โรคผิวหนัง จะมาให้คำตอบเกี่ยวกับสาเหตุของผมร่วงที่พบได้บ่อยมากที่สุดให้ทราบกัน ภาวะผมร่วงเป็นปัญหาหนึ่งที่พบได้บ่อยที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์ โรคผมร่วงสามารถแบ่งตามอาการ และสาเหตุออกได้เป็นหลายชนิด คือ

2.1  ผมบางจากพันธุกรรม (androgenetic alopecia)

ผมร่วงจากกรรมพันธุ์ พบได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย แต่ส่วนใหญ่มักเกิดกับผู้ชายมากกว่า

ผู้ชายส่วนมากจะมีสาเหตุมาจาก

  • รากผมมีความไวต่อฮอร์โมนแอนโดรเจน ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชาย
  • ทำให้เส้นผมมีอายุสั้นกว่าปกติ
  • เส้นผมที่เกิดใหม่มีขนาดเล็กและบางลง
  • ส่วนมากจะเป็นบริเวณกลางศีรษะและหน้าผาก
  • เริ่มสังเกตได้เมื่อมีอายุ 20 ปี ขึ้นไป

ผู้หญิงส่วนมากจะมีสาเหตุมาจาก

  • มักแสดงอาการหลังวัยหมดประจำเดือน
  • ผมร่วงเนื่องจากผมหยุดเจริญชั่วคราว
  • ในแต่ละวันจะมีเส้นผมประมาณ 10-15 % ที่หยุดเจริญและหลุดร่วงไป

ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีประวัติของคนในครอบครัวมีภาวะผมบางร่วมด้วยมาก่อน โดยคำแนะนำของโรคผมบางจากพันธุกรรมนี้ เป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด ยิ่งอายุมากขึ้น ยิ่งเห็นเด่นชัด แต่การรักษาแต่เนิ่น ๆ จะช่วยชะลอการหลุดร่วงของเส้นผมและทำให้ผมขึ้นกลับมาได้ ด้วย

  • การใช้ยาทา
  • ยารับประทาน
  • การใช้แสงเลเซอร์ความเข้มข้นต่ำ

แต่ถ้าปล่อยไว้นาน อาจต้องรักษาโดยการผ่าตัดปลูกผมร่วมไปด้วย คำแนะนำ คือควรมาพบแพทย์แต่เนิ่น ๆ เพื่อให้ทำการรักษาต่อไปในระยะยาว

 

2.2 ผมร่วงเป็นหย่อม (alopecia areata: AA)

ผมร่วงเป็นหย่อมเกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด จะมีอาการผมร่วงเฉพาะที่ในรูปแบบ

  • กลมหรือรี มีขอบเขตชัดเจน
  • ตรงกลางไม่มีเส้นผม
  • หนังศีรษะในบริเวณนั้นไม่แดง
  • ไม่เจ็บ
  • ไม่คัน
  • ไม่เป็นสะเก็ดหรือเป็นขุย

เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ที่ไปทำลายเส้นผมตัวเอง โดยคำแนะนำของโรคผมร่วงเป็นหย่อม ควรรีบมาพบแพทย์ ถ้าผมร่วงเป็นหย่อม แต่จำนวนไม่มาก 1-3 หย่อม แพทย์มักจะให้การรักษาด้วยยาทา หรือฉีดยาเฉพาะที่ที่หนังศีรษะ โดยโรคผมร่วงเป็นหย่อม แบบไม่กี่หย่อมนี้ ผู้ป่วยร้อยละ 30-50 สามารถหายได้เองภายใน 1 ปี แต่ถ้า

  • ผมร่วงเป็นหลายหย่อม
  • ลามไปทั้งศีรษะควรมาพบแพทย์โดยด่วน
  • ผมร่วงเป็นหย่อม ชนิดหลายหย่อม
  • ควรมาพบแพทย์พบได้ทุกส่วนของร่างกายที่มีผมหรือขน
  • อาจเกิดผมร่วงหย่อมเดียวหรือหลาย ๆ
  • หย่อมรวมกันหรือผมร่วงเป็นทั้งศีรษะ เรียกว่า alopecia totalis

2.3  ผมร่วงทั่วๆ อย่างฉับพลัน (Telogen effluvium)

ลักษณะของผมร่วงชนิดนี้ผู้ป่วยจะมีอาการผมร่วงมากผิดปกติ มากกว่า 100 เส้นต่อวันหรืออาจสูงถึง 1,000 เส้น ลักษณะร่วงทั่วศีรษะ แต่จะเห็นเด่นชัดบริเวณขมับ ผมร่วงชนิดนี้ส่วนใหญ่จะเกิดตามหลังภาวการณ์เจ็บป่วย ไม่สบาย หลังมีไข้สูง เช่น

  • ไข้มาลาเรีย
  • ไข้เลือดออก
  • ไข้หวัดใหญ่
  • ปอดอักเสบ
  • ภาวะช็อก
  • ได้รับการผ่าตัดใหญ่
  • หลังคลอดบุตร ผู้
  • ที่ลดน้ำหนักอย่างฉับพลัน
  • โรคเจ็บป่วยเรื้อรัง
  • โรคความผิดปกติของไทรอยด์
  • หรือฮอร์โมน
  • ภาวะขาดสารอาหาร ขาดวิตามิน ธาตุเหล็ก หรือโปรตีน
  • มีความเครียดจัด
  • ผิดหวังอย่างรุนแรง
  • รวมไปถึง ตามหลังการได้รับยาบางชนิดเป็นต้น

ผู้ป่วยบางคนอาจหายไปเองตามธรรมชาติ แต่อาจกินเวลาเป็นปี บางคนเมื่อรักษาหายแล้วอาจกำเริบได้ใหม่ เป็นๆ หายๆ บ่อยครั้ง ซึ่งอาจเป็นร่วมกับโรคต่อมไทรอยด์และโรคด่างขาว

2.4  ผมร่วงจากการถอนผม

พบได้บ่อยในเด็กที่มีปัญหากดดันทางจิตใจด้วยสาเหตุต่างๆ เช่น

  • ปัญหาทางครอบครัว
  • ปัญหาการเรียน
  • เด็กบางคนอาจถอนผมเล่นจนเป็นนิสัย

ผู้ป่วยจะถอนผมตัวเองจนผมแหว่ง หนังศีรษะบริเวณที่ผมร่วงจะไม่มีผื่นคันหรือเป็นขุยและจะพบเส้นผมที่เป็นตอสั้นๆอยู่มาก เนื่องจากผู้ป่วยถอนออกไม่ถนัด

2.5  ผมร่วงจากเชื้อรา

โรคเชื้อราที่ศีรษะ (กลากที่ศีรษะ) อาจพบได้บ่อยในเด็ก เกิดจากการติดเชื้อรา โรคนี้ผมร่วงเป็นหย่อมๆ เป็นผื่นแดงคันและเป็นขุยหรือสะเก็ด นอกจากนี้ มักจะพบร่องรอยของโรค เชื้อรา (กลาก) ที่มือ เท้า ลำตัวหรือในบริเวณร่มผ้าร่วมด้วย

2.6  ผมร่วงจากการทำผม

การทำผมด้วยการม้วนผม ย้อมสีผม ดัดผม เป่าผม หรือวิธีอื่นๆ อาจทำให้ผมร่วงได้ จากการที่มีหนังศีรษะอักเสบ หรือเส้นผมเปราะหัก

2.7  ผมร่วงจากยาและการฉายรังสี

ยาที่อาจทำให้เกิดอาการผมร่วงมีอยู่หลายชนิด เช่น

  • ยารักษามะเร็ง
  • การฉายรังสีในการรักษามะเร็ง
  • ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด
  • ยารักษาคอพอกเป็นพิษ
  • ยาคุมกำเนิด
  • ยาใช้ป้องกันโรคเกาต์

2.8  ผมร่วงจากโรคอื่นๆ

ผู้ป่วยที่เป็นโรคบางอย่าง เช่น

  • โรคเอสแอลอี อาจมีอาการ ผมร่วง ผมบาง
  • ร่วมกับอาการไข้เรื้อรัง ปวดตามข้อ มีผื่นปีกผีเสื้อขึ้นที่หน้า
  • โรคเรื้อรังบางอย่าง ก็ทำให้ผมร่วงได้ เช่น ไทรอยด์ ซิฟิลิส โรคตับ โรคไต

3.  ผมร่วงอาการรุนแรง และผิดปกติมาก ต้องรีบปรึกษาแพทย์

โดยปกติแล้วหากมีอาการผิดปกติของผมร่วงมากที่ต้องปรึกษาแพทย์ จะมี 3 อาการหลักๆดังนี้

  1. ผมร่วงมากกว่าวันละ 70-100 เส้นในคนที่สระผมเป็นประจำเกือบทุกวัน หรืออาจจะร่วงได้มากกว่าวันละ 200 เส้นในคนที่สระผมห่าง 3-4 วันที
  2. ผมหลุดร่วงระหว่างวัน ผมร่วงตอนสระผมหรือเป่าผมในปริมาณไม่มาก จัดว่าเป็นผมร่วงปกติ แต่ผมหลุดร่วงระหว่างวัน ระหว่างทำกิจวัตรประจำวันมากๆ ถือว่าผิดปกติ เช่น
  • บนหมอนหลังตื่นนอนตอนเช้า
  • ทานข้าว
  • ทำครัว
  • นั่งทำงาน
  1. ผมร่วงเป็นหย่อม ผมร่วงไปจนเปลี่ยนเป็นหย่อมขนาดเล็ก เท่าเหรียญสิบ

3.1 การรักษา อาการผมบาง ผมร่วง มีดังต่อไปนี้

  • การใช้ยาหรือแชมพูกำจัดเชื้อรา
  • การฉีดสเตียรอยด์
  • การปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิต เช่น นุ่มนวลกับผมของคุณมากขึ้น เรียนรู้และฝึกฝนควบคุมความเครียด
  • การผ่าตัด
  • การปลูกผม โดยการนำเส้นผมจากด้านหลังและด้านข้างของศีรษะ มาปลูกบนบริเวณที่ศีรษะล้าน
  • การผ่าตัดเคลื่อนย้ายหนังศีรษะ โดยการตัดหนังศีรษะบริเวณที่ล้านออก แล้วดึงหนังศรีษะส่วนที่มีเส้นผมให้เข้ามาอยู่ใกล้กันมากขึ้น

 


Dsecret clinic คลินิกรักษาโรคผิวหนังและผมอันดับ

อย่างไรก็ตามถ้าคุณต้องการรักษาผมร่วง ผมบาง ผมร่วงเป็นหย่อม ให่ได้ผลลัพธ์ชัดเจน คุณต้องเลือก Dsecret clinic คลินิก ด้วยเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด ดีที่สุด นำทีมบริหารโดย คุณกิ๊ก มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ และ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังเฉพาะทาง จบ ปริญญาโท จากสหรัฐอเมริกา ที่ลงมือดูแลคนไข้เองทุกเคสด้วยระดับมืออาชีพ การันตีด้วยประสบการณ์การรักษามากกว่า 10,000 เคส พร้อมผลลัพธ์ที่ดีที่สุดและความประทับใจของคนไข้จริงจนต้องบอกต่อ

  • โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์กว่า 14 ปี
  • รักษาโดยแพทย์เฉพาะทางโดยตรง
  • รักษาด้วยเทคโนโลยีที่ใหม่ที่สุดและดีที่สุดรัก
  • เน้นที่การรักษาให้ผมร่วง ผมบาง ผมร่วงเป็นหย่อมหายจริง
  • รอยผมร่วง ผมบาง ผมร่วงเป็นหย่อมไม่มีให้เห็น
  • เน้นให้ผมขึ้นเร็วมากขึ้น
  • ไม่มีผลข้างเคียง
  • เห็นผลจริงแน่นอน 100%

คุณหมอมือเบามากถึงมากที่สุด บ่งบอกถึงความใส่ใจในทุกขั้นตอนการรักษาที่ทางคลินิกมอบให้กับคนไข้ทุกเคส การันตีได้ว่า รักษาให้ผมร่วง ผมบาง ผมร่วงเป็นหย่อม หายแน่นอน ” เพราะเราดูแลคุณลูกค้าทุกคน เสมือนคนในครอบครัว คุณลูกค้า ต้องได้สิ่งที่ดีที่สุด ”

 

ประสบการณ์ มากกว่า 15 ปีของ พญ. มริญญา ผ่องผุดพันธ์

ประสบการณ์การทำงาน

  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพบาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

ผ่านการศึกษาจาก ( Education )

  • Hair Restoration Training, Korea (2015)
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
  • Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
  • Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
  • Nail surgery training
  • Laser expert training
  • Hair expert training
  • Boton university usa

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

รักษาผมร่วง ผู้หญิง pantip
รักษาผมบาง pantip
ผมร่วงเกิดจากอะไร
ผมร่วงเกิดจาก ขาดวิตามิน
ผมร่วง ผมบาง ผู้หญิง
อาการผมร่วง มะเร็ง
ผมร่วง ผมบาง ผู้ชาย
ผมร่วงเยอะมาก

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

อาการผมร่วง มะเร็ง
วิธีแก้ผมร่วง ผู้ชาย
ผมบางกลางหัว
รักษาผมบาง pantip
ผมร่วงหนักมาก ผู้หญิง
แก้ผมร่วง pantip
รักษาผมร่วง ผู้หญิง
รักษาผมร่วง ผู้หญิง pantip

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ผมร่วงเยอะมากใช้อะไรดี
ผมร่วงเกิดจากอะไร ผู้หญิง
ผมร่วงเกิดจาก ขาดวิตามิน
ผมร่วงผมบางเกิดจากอะไร
ผมร่วงเกิดจากอะไร ผู้หญิง pantip
ผมร่วง แก้ ยัง ไง
ผมร่วงเยอะมาก เกิดจากอะไร
ผมร่วง มะเร็ง

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

คลินิกรักษาผมร่วง pantip
คลินิกรักษาผมร่วง ใกล้ ฉัน
รักษาผมร่วง โรงพยาบาลไหนดี
รักษาผมร่วง ยันฮี pantip
รักษาผมบาง

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

ผมร่วง ผมบาง pantip
ผมร่วงเยอะมากใช้อะไรดี
ผมร่วงเกิดจาก ขาดวิตามิน
รักษาผมบาง pantip
ผมร่วงเกิดจากอะไร ผู้หญิง
รักษาผมร่วง ผู้หญิง
ผมร่วงแบบไม่มีรากผม
ผมร่วง แก้ ยัง ไง

 

ที่คนค้นหาเกี่ยวกับเนื้อหานี้ :

เซ็บเดิร์ม โรคผิวหนัง ที่ทุกคนต้องทำความรู้จัก

0

โรคเซ็บเดิร์ม (Seborrheic Dermatitis) คืออะไร

โรคเซ็บเดิร์ม (Seborrheic Dermatitis) คือ โรคการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังที่พบได้บ่อย ผิวหนังอักเสบจากต่อมไขมันใต้ผิวหนัง หรือที่หลายคนรู้จักกันในชื่อของโรคเซ็บเดิร์ม เป็นโรคที่เป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้

ลักษณะของโรคเซ็บเดิร์ม มีดังต่อไปนี้

  1. ผื่นแดง
  2. มีขุยละเอียดสีขาวและเหลือง
  3. คัน
  4. เป็นสะเก็ดรังแคบนหนังศีรษะ

 

ส่วนตามบริเวณร่างกายเองก็เกิดขึ้นได้เช่นกัน บริเวณที่เกิดมักเป็นส่วนที่มีความมันบริเวณจุดที่มีต่อมไขมันมาก เช่น

  1. ใบหน้า
  2. ไหล่
  3. หน้าอก
  4. หลัง
  5. ศีรษะ

โดยส่วนมากมักจะปรากฏในลักษณะผื่นแดง ทั้งนี้โรคเซบเดิมอาจทำให้สับสนกับโรคสะเก็ดเงิน อีสุกอีใส หรืออาการภูมิแพ้ได้


อาการของโรคเซ็บเดิร์ม เป็นแบบไหน

รังแคหรือสะเก็ดหนาบนหนังศีรษะถือเป็นเซบเดิมชนิดหนึ่ง โดยในทารกอายุน้อยกว่า 3 เดือนมักจะมีเกล็ดสีเหลืองหรือน้ำตาลบนศีรษะ และมักจะหายไปก่อนอายุครบ 1 ปี แต่อาจกลับไปเป็นได้อีกครั้งในช่วงวัยรุ่น ทั้งนี้โรคเซบเดิมในเด็กอาจถูกเข้าใจผิดว่าเป็นผื่นผ้าอ้อม นอกจากบริเวณศีรษะที่พบได้บ่อยแล้ว โรคเซบเดิมยังสามารถเป็นตามผิวหนังบริเวณที่มีความมัน เช่น

  1. ใบหน้า โดยเฉพาะบนเปลือกตา รอบ ๆ จมูก
  2. รวมถึงบริเวณลำตัว ได้แก่
  3. ข้อพับแขนขา
  4. กลางหน้าอก
  5. รอบสะดือ สะโพก
  6. และขาหนีบ

เซ็บเดิร์มมีลักษณะและอาการดังนี้

  1. ผิวหนังตกสะเก็ดเป็นรังแคบนหนังศีรษะ
  2. บริเวณที่มีเส้นผม คิ้ว หรือ หนวดเครา
  3. ผิวมันเป็นแผ่น ปกคลุมด้วยสะเก็ดสีขาวหรือเหลือง
  4. มีสะเก็ดแข็งบนหนังศีรษะ ใบหู ใบหน้า หน้าอก รักแร้ ถุงอัณฑะ
  5. ผมร่วงบริเวณหนังศรีษะที่เป็นเซ็บเดิร์ม
  6. ผิวหนังในบริเวณเป็นเซ็บเดิร์มจะมีความมัน
  7. มีอาการคัน แดง ผิวหนังลอกเป็นขุยสีขาวหรือสีเหลือง และผิวดูมัน
  8. เปลือกตาอักเสบ มีอาการแดงหรือมีสะเก็ดแข็งติด
  9. อาจมีอาการปวดหรือคันร่วมด้วย

กรณีที่อาการของโรครบกวนการนอนหลับพักผ่อนหรือการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้รู้สึกกังวลและอับอาย พยายามรักษาด้วยตนเองแล้วไม่ดีขึ้น หรือมีความเป็นไปได้ว่าจะมีการติดเชื้อเกิดขึ้น ควรไปพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและรับการรักษาโรคผิวหนัง


โรคเซ็บเดิร์มสาเหตุเกิดจากอะไร 

ทางการแพทย์ยังไม่สามารถระบุถึงสาเหตุของโรคนี้ได้อย่างแน่ชัด แต่บางครั้งหากบุคคลในครอบครัวเป็นเซ็บเดิร์มคุณอาจจะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น แต่สันนิษฐานว่าอาจเกิดขึ้นจากหลายปัจจัยประกอบกัน ได้แก่

  1. พันธุกรรม
  2. ความเครียด
  3. เชื้อราที่อาศัยอยู่บนผิวหนัง
  4. สภาพอากาศที่เย็นและแห้ง
  5. ภาวะแทรกซ้อนจากโรคบางชนิด รวมทั้งการใช้ยารักษาโรค
  6. โครงสร้างผิวไม่แข็งแรง

 

ใครที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเซ็บเดิร์ม

สาเหตุของการเกิดเซ็บเดิร์มไม่ได้มาจากการไม่รักษาความสะอาดหรืออาการภูมิแพ้แต่อย่างใด โดยมีโอกาสเกิดกับทารกแรกเกิดและผู้ใหญ่อายุตั้งแต่ 30-60 ปีได้มากกว่าวัยอื่น ๆ และยังพบในเพศชายได้บ่อยกว่าเพศหญิง รวมถึงผู้ที่มีผิวมัน นอกจากนี้การเจ็บป่วยจากโรคหรือภาวะใด ๆ ต่อไปนี้ก็เป็นอีกปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดเซบเดิมได้เช่นกัน

  1. โรคเกี่ยวกับระบบประสาทและโรคทางจิต เช่น
    • โรคพาร์กินสัน
    • ภาวะซึมเศร้า
  2. ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายที่อ่อนแอลง เช่น
    • ผู้ที่รับการปลูกถ่ายอวัยวะ
    • ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี
    • โรคตับอ่อนอักเสบ
    • พิษสุราเรื้อรัง
    • มะเร็งบางชนิด
  3. โรคเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อที่เป็นสาเหตุของโรคอ้วน เช่น
    • เบาหวาน
    • สิว
  4. โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ภาวะหัวใจล้มเหลว
  5. โรคการกินผิดปกติ
  6. โรคลมชัก
  7. โรคผิวหนังอักเสบโรซาเซีย
  8. โรคสะเก็ดเงิน
  9. ยารักษาโรคบางชนิด
  10. การเกา ครูดข่วน หรือการได้รับบาดเจ็บของผิวหน้า
  11. การติดสุรา

ดังนั้นสาเหตุของโรคเซ็บเดิร์มมักเกิดจากความแปรปรวนของฮอร์โมน เชื้อรา สิ่งแวดล้อม ไปจนถึงพันธุกรรม โดยมีปัจจัยให้โรคทำงานคืออุณหภูมิเป็นหลัก ซึ่งแม้ว่าโรคนี้จะไม่สามารถหายได้ แต่ก็ยังบรรเทาอาการได้ด้วยการรักษาทางการแพทย์และการดูแลตัวเอง

 


วิธีดูแลเบื้องต้นสำหรับคนเป็นโรคเซ็บเดิร์ม

ผู้ที่เป็นเซ็บเดิร์มอาจเริ่มจากการดูแลผิวด้วยตนเอง หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางประการ ดังนี้

  1. รักษาความสะอาดบริเวณที่เป็นอยู่เสมอ ด้วยสบู่และน้ำเปล่า
  2. ทำความสะอาดร่างกาย หนังศีรษะเป็นประจำ
  3. โดยเลือกผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปราศจากสารทำความสะอาดรุนแรง
  4. ไม่มีสารระคายเคืองต่างๆ เช่น
    • น้ำหอม
    • สี
    • พาราเบน
    • แอลกอฮอลล์
  5. ใช้ครีมบำรุงและผลิตภัณฑ์ช่วยเสริมเกราะปกป้องผิว และให้ความชุ่มชื้นแก่ผิว

 

วิธีรักษาโรคเซ็บเดิร์ม

หากอาการของคุณไม่ดีขึ้นด้วยการรักษาด้วยตัวเองที่บ้านแล้วนั้น คุณสามารถไปพบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญเพื่อ ปรึกษาโรคผิวหนัง และแพทย์อาจจะทำการรักษาโดยใช้ตัวยา ดังนี้

  1. แชมพูที่มีส่วนผสมของ
  • Hydrocortisone
  • fluocinolone
  • desonide

ตัวยาเหล่านี้มีประสิทธิภาพมากในการรักษาโรคเซ็บเดิร์มได้แต่หากใช้เป็นเวลานานอาจจะมีผลข้างเคียง

  1. ยาต้านเชื้อราที่เรียกว่า binbinafine
    • ยานี้มักจะไม่แนะนำเนื่องจากอาจทำให้เกิดผลข้างเคียง
    • เกิดอาการแพ้และปัญหาตับ
  2. Metronidazole เป็นการรักษาอีกวิธีหนึ่งที่สามารถ
    • บรรเทาอากาและยับยั้งแบคทีเรีย
    • อยุ่ในรูปแบบครีมและเจล
    • สามารถใช้กับผิวได้วันละสองครั้งจนกว่าอาการจะดีขึ้น
  3. แพทย์อาจจะให้ใช้ตัวยา psoralen
    • ร่วมกันกับการรักษาด้วยแสง ตัวยา psoralen
    • อาจจะมาในรูปแบบยาทาหรือยาเม็ดรับประทาน

 


เมื่อไหร่ที่คุณควรพบแพทย์

ผู้ป่วยโรคเซ็บเดิร์มควรเข้าพบแพทย์เมื่อมีอาการรุนแรงและไม่สามารถรักษาได้เองที่บ้าน และหาก

  1. ใช้แชมพูทั่วไปแล้วรังแคไม่หาย
  2. ผิวหนังบริเวณที่เป็นเซ็บเดิร์มมีอาการแดงมาก
  3. บริเวณที่เป็นเซ็บเดิร์มมีอาการเจ็บแสบ
  4. มีบริเวณที่เป็นหนองมีหนองหรือน้ำไหลออกมา


Dsecret clinic เราเข้าใจคุณ

ซึ่ง Dsecret clinic เข้าใจดีสำหรับทุกคนที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง โรคผิวหนัง  – โรคเซ็บเดิร์ม (Seborrheic Dermatitis) เรารู้และเข้าใจสาเหตุของทุกปัญหา กรณีที่อาการของโรครบกวนการนอนหลับพักผ่อนหรือการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้รู้สึกกังวลและอับอาย พยายามรักษาด้วยตนเองแล้วไม่ดีขึ้น หรือมีความเป็นไปได้ว่าจะมีการติดเชื้อเกิดขึ้น ควรไปพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและรับการรักษา เพียงคุณเข้ามาติดต่อสอบถาม หรือเข้ามาปรึกษาเราได้ฟรีที่ คลินิก Dsecret clinic เรามี

  • แพทย์เฉพาะทางผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนังโดยเฉพาะ
  • ไว้พร้อมดูแลและให้คำปรึกษาคุณในทุกๆ เรื่อง
  • เพราะเราใส่ใจในความรู้สึกและปัญหาของคุณ
  • เราพร้อมให้บริการที่ยอดเยี่ยม
  • มีทีมงานคอยบริการคุณทุกคนอย่างดี
  • ใส่ใจคนไข้ทุกคนไม่ว่าปัญหาของคุณจะเล็กมากแค่ไหน
  • แต่นั้นคือเรื่องสำคัญของเราเสมอ

ขอบคุณที่ไว้ใจให้เราได้คอยดูแลคุณอย่างใกล้ชิด และเราจะตั้งใจในการบริการงานของเราให้ดีที่สุดและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คุณมาหาเราแล้วได้แต่รอยยิ้มและความสุขกลับไป

 

 

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

โรคเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
เซ็บเดิร์ม pantip
เซ็บเดิร์ม หายขาด
เซบเดิม สถาบันโรคผิวหนัง
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
เซ็ บ เดิ ร์ ม. เรื้อรัง
เซ็บเดิร์ม ทารก
วิตามิน รักษา เซ็ บ เดิ ร์ ม

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

เป็นเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
รักษาเซ็บเดิร์ม pantip
เซ็บเดิร์ม หายขาด
วิตามิน รักษา เซ็ บ เดิ ร์ ม
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
เซ็บเดิร์ม ทารก
สมุนไพร รักษาโรค เซ็ บ เดิ ร์ ม

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

เป็นเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
โรคเซ็บเดิร์ม pantip
เซบเดิม สถาบันโรคผิวหนัง
วิตามิน รักษา เซ็ บ เดิ ร์ ม
เซ็บเดิร์ม หายขาด
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
เซ็ บ เดิ ร์ ม. เรื้อรัง
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม

ที่คนค้นหาเกี่ยวกับเนื้อหานี้ :