หน้าแรก คลินิกรักษา โรคเซ็บเดิร์ม คือ

วิธีรักษา: โรคเซ็บเดิร์ม คือ

โรคเซ็บเดิร์มร้ายแรงอย่างไร ทำไมต้องรีบรักษา

0

โรคเซ็บเดิร์ม เมื่อคุณเป็นแล้วต้องรีบรักษาด่วน

โรคเซ็บเดิร์ม หรือโรคผื่นแพ้ต่อมไขมัน (Seborrheic Dermatitis) เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของต่อมไขมันในชั้นผิวหนังที่จะส่งผลต่อจิตใจโดยตรง ทำให้ขาดความมั่นใจเนื่องจากโรคผิวหนังเรื้อรัง เป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ และส่งผลต่อชีวิตประจำวัน พบได้ทั่วทุกบริเวณของร่างกาย โดยเฉพาะหนังศีรษะ และผิวหนังที่เกิดความมัน อาทิ ใบหน้า หลังหู หรือบริเวณข้อพับตามร่างกาย ทั้งนี้ การทำความเข้าใจต่อตัวโรค รวมถึงการควบคุมก็มีส่วนในการรักษา

กลุ่มเสี่ยงที่อาจเกิด โรคเซ็บเดิร์ม

  • เด็กแรกเกิด – 2 เดือน มักเกิดผื่นที่บริเวณศีรษะหรือใบหน้า และผู้ปกครองหลายท่านเข้าใจว่านั่นคือผื่นผ้าอ้อมทั่วไป
  • ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 30-60 ปี ทั้งยังพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
  • ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น โรคพาร์กินสัน ผู้ติดเชื้อ HIV

ปรึกษาปัญหา โรคเซ็บเดิร์ม คลิกที่นี่

อาการของ โรคเซ็บเดิร์ม เป็นอย่างไรบ้าง

อาการโรคเซ็บเดิร์ม เป็นการอักเสบจากภายใน ไม่ใช่การแพ้สัมผัสจากภายนอก มักเกิดจากความผิดปกติในร่างกาย เช่น

  • ไขมันถูกผลิตออกมามากเกินไป
  • ภาวะเครียดทางจิตใจ
  • ทำงานหนัก
  • อดนอน
  • พันธุกรรม
  • สภาพอากาศที่เย็นแห้งหรือร้อนชื้น
  • ภาวะแทรกซ้อนจากโรคบางชนิด

รวมทั้งการใช้ยารักษาโรคที่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดผื่นเซ็บเดิร์ม หรือบางรายที่เป็นผื่นเซ็บเดิร์มในบริเวณที่กว้างมาก หรืออาจเป็นผลมาจากโรคอื่น ๆ เช่น

  • โรค HIV
  • โรคพากินสันหรือโรคระบบทางเดินประสาทบางชนิด
  • ซึ่งต้องทำการเจาะเลือดเพื่อตรวจ

อีกหนึ่งโรคที่มีผื่นขึ้นเช่นกันก็คือโรคผื่นแพ้สัมผัส ซึ่งลักษณะของผื่นคล้ายกับเซ็บเดิร์มมาก แต่เมื่อมีการซักประวัติคนไข้จะสามารถแยกความแตกต่างระหว่างสองโรคได้ เพราะส่วนมากผู้ที่เป็นผื่นแพ้สัมผัสมักมีการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ดูแลผิวใหม่ภายใน 1-2 สัปดาห์ที่ผ่านมา เช่น ครีมยี่ห้อใหม่ โฟมล้างหน้ายี่ห้อใหม่ ส่วนโรคผิวหนังอื่น ๆ อาจต้องตรวจละเอียดด้วยวิธีทางการแพทย์

ติดต่อสอบถาม โรคเซ็บเดิร์ม คลิกที่นี่

วิธีการรักษา โรคเซ็บเดิร์ม ต้องทำอย่างไร

วิธีการรักษาโรคเซ็บเดิร์ม ควรปรึกษาแพทย์และรับการรักษา ซึ่งหากวินิจฉัยว่าเป็นเซบเดิร์ม แพทย์อาจสั่งจ่ายยาหรือแนะนำวิธีรักษาดังต่อไปนี้

  1. “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” แนะนำว่าให้คุณควรหลีกเลี่ยงสภาวะความเครียดและควรพักผ่อนให้เพียงพอ ควรหมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และดื่มน้ำเยอะๆ พยายามทำร่างกายให้แข็งแรง ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่เป็นโรคที่สามารถควบคุมอาการได้
  2. ที่ “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” จะมีการใช้ยาเพื่อควบคุมอาการ หากอาการทุเลาลงเป็นเวลา 1-2 ปี เนื่องจากการดูแลรักษาที่ถูกวิธี เมื่อเริ่มมีอาการเกิดขึ้นใหม่ ในกรณีที่เครียดหรือตกอยู่ในภาวะที่ไปกระตุ้นทำให้เกิดโรคขึ้นอีกครั้ง เมื่อรู้ตัวก็สามารถรีบทายาเพื่อควบคุมอาการไม่ให้เกิดมากหรือลุกลามได้ หรือเข้ามาปรึกษาที่ “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic”ได้เช่นกัน
  3. คุณควรมาพบแพทย์ที่ “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” เพื่อทำการรักษาให้ถูกวิธี โดยโรคนี้รักษาได้ไม่ยาก และมีการใช้ยาทาเพียง 1-2 ชนิดเท่านั้น ควบคู่ไปกับการปฏิบัติตนให้ถูกต้อง

หากคุณกำลังประสบปัญหาเหล่านี้ ให้ “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” ได้เป็นส่วนหนึ่งคอยดูแลและทำให้คุณกลับมามีความมั่นใจในตนเองอีกครั้ง คุณสามารถเข้าขอรับคำปรึกษาและคำแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางสาขาใกล้บ้านได้แล้ววันนี้

แอดไลน์ปรึกษาอาการ โรคเซ็บเดิร์ม คลิกที่นี่

“Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” เป็นคลินิกที่มุ่งเน้นให้บริการ ดูแลรักษาความสวยความงามให้กับผู้มาเข้ารับบริการด้วยเครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย  ให้ความสำคัญในเรื่องของมาตรฐานและความปลอดภัย โดย พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนัง คอยแนะนำ ให้คำปรึกษาเป็นอย่างดี คุณสามารถไว้วางใจและเข้ารับบริการได้ที่สาขาใกล้บ้าน มีทีมแพทย์ที่มีคุณภาพพร้อมให้บริการการดูแลเอาใจใส่อย่างทั่วถึง เปิดให้บริการ ยินดีรับฟัง ให้คำปรึกษา และหาแนวทางการแก้ไขปัญหาไปพร้อมกับคุณ ในราคาคุ้มค่ากับคุณภาพที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ โดยพญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนังที่มีประสบการณ์การรักษามากกว่า 15 ปี จากหลายสถาบัน ที่ผ่านการศึกษาจาก (Education)

  • Hair Restoration Training, Korea (2015)
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
  • Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
  • Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
  • Nail surgery training
  • Laser expert training
  • Hair expert training
  • Boton university usa

ประสบการณ์การทำงานของ พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ 

  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

โรคเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
โรคเซ็บเดิร์ม pantip
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
ยาทาเซ็บเดิร์มที่หน้า
เซ็บเดิร์ม hiv
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
เซ็บเดิร์ม ครีม
โรค เซ็ บ เดิ ร์ ม หน้า Pantip
เป็นเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
วิธีรักษาเซ็บเดิร์ม pantip
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
เซ็บเดิร์ม hiv
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
ยาทาเซ็บเดิร์มที่หน้า
เซ็บเดิร์ม ครีม
เซ็บเดิร์ม นอนดึก
เป็นเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
วิธีรักษาเซ็บเดิร์ม pantip
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
รักษาเซ็บเดิร์ม ที่ไหนดี
เซ็บเดิร์ม นอนดึก
เซ็บเดิร์ม hiv
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
ยาทาเซ็บเดิร์มที่หน้า

 

ทำความรู้จักกับ โรคเซ็บเดิร์ม โรคผิวหนังเรื้อรัง

0

ทำความรู้จักกับ โรคเซ็บเดิร์ม  โรคผิวหนังเรื้อรัง

โรคเซ็บเดิร์ม เป็นโรคที่มีภาวะผิวหนังอักเสบจากต่อมไขมันในชั้นผิวหนัง ถือเป็นโรคเรื้อรัง ที่มีสาเหตุหลายอย่างด้วยกัน เป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ และส่งผลต่อชีวิตประจำวัน โดยจะส่งผลต่อจิตใจโดยตรง ทำให้ขาดความมั่นใจ  โดยมากปรากฏในลักษณะผื่นแดง คัน และเป็นสะเก็ดรังแคบนหนังศีรษะ ส่วนตามบริเวณร่างกายเองก็เกิดขึ้นได้เช่นกัน บริเวณที่เกิดมักเป็นส่วนที่มีความมัน เช่น บนใบหน้า หลัง หน้าอก โรคเซบเดิมอาจทำให้สับสนกับโรคสะเก็ดเงิน อีสุกอีใส หรืออาการภูมิแพ้ได้

ปรึกษาปัญหา โรคเซ็บเดิร์ม คลิกที่นี่

อาการของโรคเซ็บเดิร์ม

โรคเซ็บเดิร์มเป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนัง อาการโรคเซ็บเดิร์มส่งผลต่อชีวิตประจำวัน โดยจะส่งผลต่อจิตใจโดยตรง ทำให้ขาดความมั่นใจ โดยอาจสังเกตได้จากอาการต่อไปนี้

  • ผิวหนังตกสะเก็ด เป็นรังแคบริเวณที่มีเส้นผม คิ้ว หรือหนวดเครา
  • ผิวมันเป็นแผ่น ปกคลุมด้วยสะเก็ดสีขาวแข็ง บนส่วนอื่นๆ ในร่างกาย
  • คัน แดง ผิวหนังลอกเป็นขุยสีขาวหรือสีเหลือง และผิวดูมัน
  • เปลือกตาอักเสบ แดง หรือมีสะเก็ดแข็งติด
  • อาจมีอาการปวดร่วมด้วย โดยอาจปวดในบริเวณที่เป็นสะเก็ด

แอดไลน์ปรึกษาอาการ โรคเซ็บเดิร์ม คลิกที่นี่

          การอักเสบเรื้อรังของผิวหนังที่พบได้บ่อย บนหนังศีรษะและผิวหนังบริเวณที่มีความมัน เช่น ใบหน้า หลัง หน้าอก และบริเวณลำตัว ได้แก่ ข้อพับแขน ขา และขาหนีบ

สาเหตุของโรคเซ็บเดิร์ม

สาเหตุขอ­งโรคเซ็บเดิร์ม  เป็นโรคที่มีความซับซ้อน  โดยอาจเกิดจากสาเหตุเดียว  หรืออาจจะเกิดจากหลายปัจจัยประกอบเข้าด้วยกัน เช่น

  • พันธุกรรม
  • ความเครียด
  • เชื้อราที่อยู่บนผิวหนัง
  • สภาพอากาศเย็นและแห้ง
  • ภาวะแทรกซ้อนจากโรคบางชนิด
  • โครงสร้างผิวไม่แข็งแรง

ติดต่อรักษา โรคเซ็บเดิร์ม คลิกที่นี่

          โดยทั้งนี้ก็สามารถกล่าวได้ว่ายังไม่สามารถระบุถึงสาเหตุของโรคนี้ได้อย่างแน่ชัด แม้จะตรวจหาสาเหตุอย่างละเอียดแล้วก็ตาม  แนะนำให้เข้ารับคำปรึกษาและเข้ารับการรักษากับแพทย์ผิวหนังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านผิวหนัง เพื่อทำการรักษาอย่างถูกต้อง

การรักษาโรคเซ็บเดิร์มด้วยตนเอง

วิธีการรักษาโรคเซ็บเดิร์มที่มีอาการเกิดขึ้นบนหนังศีรษะนั้น  สามารถรักษาด้วยตนเอง  โดยสามารถหายารักษาตามร้านขายยาแผนปัจจุบันได้ทั่วไป เช่น

  • กรดซาลิซิลิก ใช้เป็นประจำทุกวัน
  • คีโตโคนาโซลใช้สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
  • เซเลเนียม ซัลไฟด์ ใช้เป็นประจำทุกวัน
  • ซิงก์ ไพริไธออน ใช้เป็นประจำทุกวัน
  • โคล ทาร์

ปรึกษาปัญหา โรคเซ็บเดิร์ม คลิกที่นี่

หากเคยใช้แชมพูตัวยาใดๆ ข้างต้นได้ผลแต่พบว่าประสิทธิภาพค่อย ๆ ลดลง หรือกลับมาเป็นซ้ำอีก ให้เปลี่ยนใช้สลับกันกับอีกชนิด ทั้งนี้หากยังไม่ดีขึ้น เกิดซ้ำเรื้อรัง สามารถขอคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ โดยเรา “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” ของเรามีแพทย์เฉพาะทางโดยเฉพะ ที่มีประสบการณ์มามากกว่า 15 ปีของ พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนัง ตจแพทย์ ผู้มีความเชี่ยวชาญจบการศึกษาจากสถาบันชื่อดังมากมายในระดับสากล

  • Hair Restoration Training, Korea
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital
  • Board of Dermatopathology, Boston University, USA
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA
  • Doctor of Medicine, Mahidol University

และเรายังได้รับความไว้วางใจโดยดารานักแสดง อย่างคุณ กิ๊ก – มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ ต่างให้ความไว้วางใจ เลือกขอคำปรึกษากับเรา “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” หากคุณสะดวกสามารถเข้าไปปรึกษาได้

“Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” เป็นคลินิกที่มุ่งเน้นให้บริการ ดูแลรักษาความสวยความงามให้กับผู้มาเข้ารับบริการด้วยเครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย  ให้ความสำคัญในเรื่องของมาตรฐานและความปลอดภัย โดย พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนัง คอยแนะนำ ให้คำปรึกษาเป็นอย่างดี คุณสามารถไว้วางใจและเข้ารับบริการได้ที่สาขาใกล้บ้าน มีทีมแพทย์ที่มีคุณภาพพร้อมให้บริการการดูแลเอาใจใส่อย่างทั่วถึง เปิดให้บริการ ยินดีรับฟัง ให้คำปรึกษา และหาแนวทางการแก้ไขปัญหาไปพร้อมกับคุณ ในราคาคุ้มค่ากับคุณภาพที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ โดยพญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนังที่มีประสบการณ์การรักษามากกว่า 15 ปี

แอดไลน์ปรึกษาอาการ โรคเซ็บเดิร์ม คลิกที่นี่

ประสบการณ์การทำงานของ พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ 

  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

 

โรคเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
โรคเซ็บเดิร์ม pantip
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
ยาทาเซ็บเดิร์มที่หน้า
เซ็บเดิร์ม hiv
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
เซ็บเดิร์ม ครีม
โรค เซ็ บ เดิ ร์ ม หน้า Pantip
เป็นเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
วิธีรักษาเซ็บเดิร์ม pantip
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
เซ็บเดิร์ม hiv
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
ยาทาเซ็บเดิร์มที่หน้า
เซ็บเดิร์ม ครีม
เซ็บเดิร์ม นอนดึก
เป็นเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
วิธีรักษาเซ็บเดิร์ม pantip
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
รักษาเซ็บเดิร์ม ที่ไหนดี
เซ็บเดิร์ม นอนดึก
เซ็บเดิร์ม hiv
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
ยาทาเซ็บเดิร์มที่หน้า

 

เซ็บเดิร์ม โรคผิวหนัง ที่ทุกคนต้องทำความรู้จัก

0

โรคเซ็บเดิร์ม (Seborrheic Dermatitis) คืออะไร

โรคเซ็บเดิร์ม (Seborrheic Dermatitis) คือ โรคการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังที่พบได้บ่อย ผิวหนังอักเสบจากต่อมไขมันใต้ผิวหนัง หรือที่หลายคนรู้จักกันในชื่อของโรคเซ็บเดิร์ม เป็นโรคที่เป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้

ลักษณะของโรคเซ็บเดิร์ม มีดังต่อไปนี้

  1. ผื่นแดง
  2. มีขุยละเอียดสีขาวและเหลือง
  3. คัน
  4. เป็นสะเก็ดรังแคบนหนังศีรษะ

 

ส่วนตามบริเวณร่างกายเองก็เกิดขึ้นได้เช่นกัน บริเวณที่เกิดมักเป็นส่วนที่มีความมันบริเวณจุดที่มีต่อมไขมันมาก เช่น

  1. ใบหน้า
  2. ไหล่
  3. หน้าอก
  4. หลัง
  5. ศีรษะ

โดยส่วนมากมักจะปรากฏในลักษณะผื่นแดง ทั้งนี้โรคเซบเดิมอาจทำให้สับสนกับโรคสะเก็ดเงิน อีสุกอีใส หรืออาการภูมิแพ้ได้


อาการของโรคเซ็บเดิร์ม เป็นแบบไหน

รังแคหรือสะเก็ดหนาบนหนังศีรษะถือเป็นเซบเดิมชนิดหนึ่ง โดยในทารกอายุน้อยกว่า 3 เดือนมักจะมีเกล็ดสีเหลืองหรือน้ำตาลบนศีรษะ และมักจะหายไปก่อนอายุครบ 1 ปี แต่อาจกลับไปเป็นได้อีกครั้งในช่วงวัยรุ่น ทั้งนี้โรคเซบเดิมในเด็กอาจถูกเข้าใจผิดว่าเป็นผื่นผ้าอ้อม นอกจากบริเวณศีรษะที่พบได้บ่อยแล้ว โรคเซบเดิมยังสามารถเป็นตามผิวหนังบริเวณที่มีความมัน เช่น

  1. ใบหน้า โดยเฉพาะบนเปลือกตา รอบ ๆ จมูก
  2. รวมถึงบริเวณลำตัว ได้แก่
  3. ข้อพับแขนขา
  4. กลางหน้าอก
  5. รอบสะดือ สะโพก
  6. และขาหนีบ

เซ็บเดิร์มมีลักษณะและอาการดังนี้

  1. ผิวหนังตกสะเก็ดเป็นรังแคบนหนังศีรษะ
  2. บริเวณที่มีเส้นผม คิ้ว หรือ หนวดเครา
  3. ผิวมันเป็นแผ่น ปกคลุมด้วยสะเก็ดสีขาวหรือเหลือง
  4. มีสะเก็ดแข็งบนหนังศีรษะ ใบหู ใบหน้า หน้าอก รักแร้ ถุงอัณฑะ
  5. ผมร่วงบริเวณหนังศรีษะที่เป็นเซ็บเดิร์ม
  6. ผิวหนังในบริเวณเป็นเซ็บเดิร์มจะมีความมัน
  7. มีอาการคัน แดง ผิวหนังลอกเป็นขุยสีขาวหรือสีเหลือง และผิวดูมัน
  8. เปลือกตาอักเสบ มีอาการแดงหรือมีสะเก็ดแข็งติด
  9. อาจมีอาการปวดหรือคันร่วมด้วย

กรณีที่อาการของโรครบกวนการนอนหลับพักผ่อนหรือการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้รู้สึกกังวลและอับอาย พยายามรักษาด้วยตนเองแล้วไม่ดีขึ้น หรือมีความเป็นไปได้ว่าจะมีการติดเชื้อเกิดขึ้น ควรไปพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและรับการรักษาโรคผิวหนัง


โรคเซ็บเดิร์มสาเหตุเกิดจากอะไร 

ทางการแพทย์ยังไม่สามารถระบุถึงสาเหตุของโรคนี้ได้อย่างแน่ชัด แต่บางครั้งหากบุคคลในครอบครัวเป็นเซ็บเดิร์มคุณอาจจะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น แต่สันนิษฐานว่าอาจเกิดขึ้นจากหลายปัจจัยประกอบกัน ได้แก่

  1. พันธุกรรม
  2. ความเครียด
  3. เชื้อราที่อาศัยอยู่บนผิวหนัง
  4. สภาพอากาศที่เย็นและแห้ง
  5. ภาวะแทรกซ้อนจากโรคบางชนิด รวมทั้งการใช้ยารักษาโรค
  6. โครงสร้างผิวไม่แข็งแรง

 

ใครที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเซ็บเดิร์ม

สาเหตุของการเกิดเซ็บเดิร์มไม่ได้มาจากการไม่รักษาความสะอาดหรืออาการภูมิแพ้แต่อย่างใด โดยมีโอกาสเกิดกับทารกแรกเกิดและผู้ใหญ่อายุตั้งแต่ 30-60 ปีได้มากกว่าวัยอื่น ๆ และยังพบในเพศชายได้บ่อยกว่าเพศหญิง รวมถึงผู้ที่มีผิวมัน นอกจากนี้การเจ็บป่วยจากโรคหรือภาวะใด ๆ ต่อไปนี้ก็เป็นอีกปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดเซบเดิมได้เช่นกัน

  1. โรคเกี่ยวกับระบบประสาทและโรคทางจิต เช่น
    • โรคพาร์กินสัน
    • ภาวะซึมเศร้า
  2. ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายที่อ่อนแอลง เช่น
    • ผู้ที่รับการปลูกถ่ายอวัยวะ
    • ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี
    • โรคตับอ่อนอักเสบ
    • พิษสุราเรื้อรัง
    • มะเร็งบางชนิด
  3. โรคเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อที่เป็นสาเหตุของโรคอ้วน เช่น
    • เบาหวาน
    • สิว
  4. โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ภาวะหัวใจล้มเหลว
  5. โรคการกินผิดปกติ
  6. โรคลมชัก
  7. โรคผิวหนังอักเสบโรซาเซีย
  8. โรคสะเก็ดเงิน
  9. ยารักษาโรคบางชนิด
  10. การเกา ครูดข่วน หรือการได้รับบาดเจ็บของผิวหน้า
  11. การติดสุรา

ดังนั้นสาเหตุของโรคเซ็บเดิร์มมักเกิดจากความแปรปรวนของฮอร์โมน เชื้อรา สิ่งแวดล้อม ไปจนถึงพันธุกรรม โดยมีปัจจัยให้โรคทำงานคืออุณหภูมิเป็นหลัก ซึ่งแม้ว่าโรคนี้จะไม่สามารถหายได้ แต่ก็ยังบรรเทาอาการได้ด้วยการรักษาทางการแพทย์และการดูแลตัวเอง

 


วิธีดูแลเบื้องต้นสำหรับคนเป็นโรคเซ็บเดิร์ม

ผู้ที่เป็นเซ็บเดิร์มอาจเริ่มจากการดูแลผิวด้วยตนเอง หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางประการ ดังนี้

  1. รักษาความสะอาดบริเวณที่เป็นอยู่เสมอ ด้วยสบู่และน้ำเปล่า
  2. ทำความสะอาดร่างกาย หนังศีรษะเป็นประจำ
  3. โดยเลือกผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปราศจากสารทำความสะอาดรุนแรง
  4. ไม่มีสารระคายเคืองต่างๆ เช่น
    • น้ำหอม
    • สี
    • พาราเบน
    • แอลกอฮอลล์
  5. ใช้ครีมบำรุงและผลิตภัณฑ์ช่วยเสริมเกราะปกป้องผิว และให้ความชุ่มชื้นแก่ผิว

 

วิธีรักษาโรคเซ็บเดิร์ม

หากอาการของคุณไม่ดีขึ้นด้วยการรักษาด้วยตัวเองที่บ้านแล้วนั้น คุณสามารถไปพบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญเพื่อ ปรึกษาโรคผิวหนัง และแพทย์อาจจะทำการรักษาโดยใช้ตัวยา ดังนี้

  1. แชมพูที่มีส่วนผสมของ
  • Hydrocortisone
  • fluocinolone
  • desonide

ตัวยาเหล่านี้มีประสิทธิภาพมากในการรักษาโรคเซ็บเดิร์มได้แต่หากใช้เป็นเวลานานอาจจะมีผลข้างเคียง

  1. ยาต้านเชื้อราที่เรียกว่า binbinafine
    • ยานี้มักจะไม่แนะนำเนื่องจากอาจทำให้เกิดผลข้างเคียง
    • เกิดอาการแพ้และปัญหาตับ
  2. Metronidazole เป็นการรักษาอีกวิธีหนึ่งที่สามารถ
    • บรรเทาอากาและยับยั้งแบคทีเรีย
    • อยุ่ในรูปแบบครีมและเจล
    • สามารถใช้กับผิวได้วันละสองครั้งจนกว่าอาการจะดีขึ้น
  3. แพทย์อาจจะให้ใช้ตัวยา psoralen
    • ร่วมกันกับการรักษาด้วยแสง ตัวยา psoralen
    • อาจจะมาในรูปแบบยาทาหรือยาเม็ดรับประทาน

 


เมื่อไหร่ที่คุณควรพบแพทย์

ผู้ป่วยโรคเซ็บเดิร์มควรเข้าพบแพทย์เมื่อมีอาการรุนแรงและไม่สามารถรักษาได้เองที่บ้าน และหาก

  1. ใช้แชมพูทั่วไปแล้วรังแคไม่หาย
  2. ผิวหนังบริเวณที่เป็นเซ็บเดิร์มมีอาการแดงมาก
  3. บริเวณที่เป็นเซ็บเดิร์มมีอาการเจ็บแสบ
  4. มีบริเวณที่เป็นหนองมีหนองหรือน้ำไหลออกมา


Dsecret clinic เราเข้าใจคุณ

ซึ่ง Dsecret clinic เข้าใจดีสำหรับทุกคนที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง โรคผิวหนัง  – โรคเซ็บเดิร์ม (Seborrheic Dermatitis) เรารู้และเข้าใจสาเหตุของทุกปัญหา กรณีที่อาการของโรครบกวนการนอนหลับพักผ่อนหรือการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้รู้สึกกังวลและอับอาย พยายามรักษาด้วยตนเองแล้วไม่ดีขึ้น หรือมีความเป็นไปได้ว่าจะมีการติดเชื้อเกิดขึ้น ควรไปพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและรับการรักษา เพียงคุณเข้ามาติดต่อสอบถาม หรือเข้ามาปรึกษาเราได้ฟรีที่ คลินิก Dsecret clinic เรามี

  • แพทย์เฉพาะทางผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนังโดยเฉพาะ
  • ไว้พร้อมดูแลและให้คำปรึกษาคุณในทุกๆ เรื่อง
  • เพราะเราใส่ใจในความรู้สึกและปัญหาของคุณ
  • เราพร้อมให้บริการที่ยอดเยี่ยม
  • มีทีมงานคอยบริการคุณทุกคนอย่างดี
  • ใส่ใจคนไข้ทุกคนไม่ว่าปัญหาของคุณจะเล็กมากแค่ไหน
  • แต่นั้นคือเรื่องสำคัญของเราเสมอ

ขอบคุณที่ไว้ใจให้เราได้คอยดูแลคุณอย่างใกล้ชิด และเราจะตั้งใจในการบริการงานของเราให้ดีที่สุดและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คุณมาหาเราแล้วได้แต่รอยยิ้มและความสุขกลับไป

 

 

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

โรคเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
เซ็บเดิร์ม pantip
เซ็บเดิร์ม หายขาด
เซบเดิม สถาบันโรคผิวหนัง
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
เซ็ บ เดิ ร์ ม. เรื้อรัง
เซ็บเดิร์ม ทารก
วิตามิน รักษา เซ็ บ เดิ ร์ ม

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

เป็นเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
รักษาเซ็บเดิร์ม pantip
เซ็บเดิร์ม หายขาด
วิตามิน รักษา เซ็ บ เดิ ร์ ม
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
เซ็บเดิร์ม ทารก
สมุนไพร รักษาโรค เซ็ บ เดิ ร์ ม

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

เป็นเซ็บเดิร์ม ห้ามกินอะไร
โรคเซ็บเดิร์ม pantip
เซบเดิม สถาบันโรคผิวหนัง
วิตามิน รักษา เซ็ บ เดิ ร์ ม
เซ็บเดิร์ม หายขาด
เซ็บเดิร์ม กับ สะเก็ดเงิน
เซ็ บ เดิ ร์ ม. เรื้อรัง
แชมพูรักษาเซ็บเดิร์ม

ที่คนค้นหาเกี่ยวกับเนื้อหานี้ :