โรคฝี (Abscess) ทุกคนสามารถเป็นได้
ฝี (Abscess) คือตุ่มหนองอักเสบสะสมใต้ผิวหนัง ทำให้ มีกลิ่นเหม็น และจะทำให้คุณเจ็บปวดเมื่อสัมผัสโดน และก่อตัวขยายใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดขาว เนื้อเยื่อที่ตายแล้ว และเชื้อโรค ซึ่งมักเป็นการติดเชื้อ หากคุณกำลังมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง ฝี (Abscess) เรามีคลินิกดีๆ ที่ได้มาตรฐาน และขึ้นทะเบียนอย่างถูกต้อง มีทีมแพทย์เฉพาะทางเพื่อให้คำปรึกษาคุณโดยเฉพาะ นำทีมโดย พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ แพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนัง ตจแพทย์ ที่มีประสบการณ์การทำงานจากหลายสถาบัน เช่น
- อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
- อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลรามาธิบดี
- แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
- แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ
คุณสามารถเข้ามาปรึกษาได้ที่ “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” ใกล้สาขาไหนสามารถเข้าไปปรึกษากับทางคลินิกได้เลย ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ทางคลินิกมีทีมงานคอยบริการคุณทุกคนอย่างดี
ฝี แบ่งเป็น 2 ประเภท ตามบริเวณที่เกิด ได้แก่
1. ฝีที่ผิวหนัง
เป็นฝีที่ก่อตัวขึ้นบริเวณใต้ผิวหนัง โดยบริเวณรากผมหรือขนที่เกิดการติดเชื้อจะพัฒนาจนเกิดฝี มีอาการ คือ
- ฝีเกิดการอักเสบบวมแดง
- เจ็บปวด
- รู้สึกแสบร้อน
- ในบางครั้งการติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นในทรวงอกของผู้หญิงที่ให้นมบุตรได้กลายเป็นฝีที่เต้านม
- บริเวณต่อมใต้ผิวหนังที่แคมอวัยวะเพศหญิงอาจเกิดการอักเสบกลายเป็นฝีที่เรียกว่า ฝีต่อมบาร์โธลิน (Bartholin’s Abscess)
2. ฝีที่อวัยวะภายใน
เป็นฝีที่ก่อตัวขึ้นบริเวณอวัยวะภายใน หรือในบริเวณที่ว่างระหว่างอวัยวะภายในร่างกาย อาการแสดงขึ้นอยู่กับบริเวณที่เกิดฝี โดยฝีภายในร่างกายมักเกิดจากอาการเจ็บป่วยอย่างอื่นที่ส่งผลทำให้เกิดฝี เช่น
- การติดเชื้อในตับทำให้เกิดฝีในตับ
- การติดเชื้อในเหงือกและฟันทำให้เกิดฝีและฟันเป็นหนองได้
ตัวอย่างของฝีแต่ละชนิด ได้แก่
- โพรงหนองที่ฟัน เกิดบริเวณเนื้อใต้ฟัน หรือบริเวณเหงือกและกระดูกกรามใต้ฟัน
- หนองที่ทอนซิล เกิดบริเวณต่อมทอนซิลในช่องปาก และผนังด้านในลำคอ
- ฝีต่อมบาร์โธลิน เกิดในต่อมบาร์โธลินบริเวณผิวหนังที่แคมอวัยวะเพศหญิง
- ฝีที่ก้น เกิดบริเวณผิวหนังที่รอยแยกหรือร่องก้น
- ฝีบริเวณทวารหนัก เกิดบริเวณลำไส้ตรงและทวารหนัก
- ฝีไขสันหลัง เกิดบริเวณโดยรอบไขสันหลัง
- ฝีในสมอง เกิดภายในเนื้อสมองใต้กะโหลกศีรษะ เป็นกรณีที่พบได้น้อยมาก แต่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
อาการของฝี (Abscess) เป็นอย่างไร
อาการของฝี (Abscess) โดยทั่วไป คือ มีตุ่มหนองอักเสบบวม เจ็บปวดและแสบร้อนเมื่อสัมผัสโดน รู้สึกไม่สบายตัว และอาจมีไข้สูงหรือหนาวสั่นร่วมด้วย ซึ่งเป็นสัญญาณอาการของการติดเชื้อ
สาเหตุของการเกิดฝี (Abscess)
สาเหตุของการเกิดฝี ที่เกิดบริเวณผิวหนัง เป็นการอุดตันของต่อมน้ำมันหรือต่อมเหงื่อใต้ผิวหนัง และการอักเสบของรูขุมขนหรือเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้ว ทำให้เชื้อโรคแทรกตัวเข้าไปภายในต่อมเหล่านี้ จึงเกิดกระบวนการอักเสบของระบบภูมิคุ้มกันร่างกายเพื่อต้านต่อเชื้อโรค เกิดเป็นฝีที่มีการอักเสบและโตขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งเชื้อส่วนใหญ่ที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดฝี คือ
- เชื้อแบคทีเรีย
ส่วนสาเหตุของการเกิดฝีภายในร่างกาย มักเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พัฒนาขึ้นหลังป่วยจากอาการอื่น ๆ อย่างการติดเชื้อภายในอวัยวะต่าง ๆ เช่น
- ไส้ติ่งอักเสบและแตกภายในช่องท้อง
- ทำให้เชื้อแบคทีเรียกระจายเข้าสู่เนื้อเยื่ออวัยวะต่าง ๆ ภายในช่องท้อง
- จนอาจเกิดเป็นฝีในเวลาต่อมาได้
ติดต่อสอบถามรักษา ฝี คลิกที่นี่
ฝีแบบไหนที่ควรพบแพทย์ผิวหนัง
หากเป็นฝี ไม่แนะนำให้บีบ หรือแคะ แกะ เกาด้วยตนเอง เพราะจะทำให้เชื้อแบคทีเรียลามไปทั่ว ทำให้เกิดการติดเชื้อและอักเสบหนักกว่าเดิม ดังนั้น หากพบว่าเป็นฝี ก็ควรมาปรึกษาพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนัง เพื่อทำการรักษาก่อนจะลุกลาม หากคุณมีอาการเหล่านี้ควรรีบพบแพทย์ทันที
- มีไข้มากกว่า 39 องศาเซลเซียส
- ใช้ยาสเตียรอยด์มาเป็นระยะเวลานาน
- ได้รับยาเคมีบำบัด ได้รับการฟอกเลือก
- ฝีที่ใบหน้ามีขนาดใหญ่กว่า 1 เซนติเมตร
“Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” คุณสามารถเข้าปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนัง มีบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาทุกปัญหาเกี่ยวกับโรคผิวหนัง รวมถึงบริการแบบครบวงจรด้านศัลยกรรมความงามทั้งใบหน้า รูปร่าง ตลอดจนการดูแลผิวพรรณ
วิธีการรักษาฝี (Abscess)
- หากฝีมีขนาดเล็กและไม่เจ็บปวดรุนแรง ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ด้วยวิธีง่าย ๆ ที่บ้าน อาการจะดีขึ้นและฝีจะหายไปเอง โดยต้องหลีกเลี่ยงการบีบกดหรือใช้เข็มเจาะฝีด้วยตนเองเพื่อให้ของเหลวไหลออกมา เพราะอาจทำให้เกิดการติดเชื้อในเนื้อเยื่อบริเวณใกล้เคียงและอาจสร้างความเสียหายแก่เส้นเลือดบริเวณดังกล่าวได้
- หากฝีมีขนาดใหญ่หรือมีอาการป่วยที่รุนแรง ผู้ป่วยควรรีบไปพบแพทย์ ที่ “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” แพทย์จะทำการรักษาด้วยการ
- ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อ
- และอาจใช้การผ่าตัดเพื่อถ่ายหนองในฝีออก
ทั้งนี้ การรักษาฝีขึ้นอยู่กับความรุนแรงของฝี สาเหตชนิดและบริเวณที่เกิดฝี และดุลยพินิจของแพทย์ เพื่อทำการรักษาฝีให้ถูกต้อง เพื่อป้องกันการติดเชื้อ และการเป็นซ้ำซากนั้นเอง
แอดไลน์ปรึกษาอาการ ฝี คลิกที่นี่
“Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” คลินิกรักษาโรคผิวหนังโดยเฉพาะ
หากคุณกำลังเจอกับปัญหาเกี่ยวกับโรคผิวหนัง คุณสามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ของ เพื่อขอคำปรึกษา “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” ได้ทุกสาขา ไม่ว่าคุณกำลังเจอปัญหาโรคผิวหนังแบบไหนอยู่ ทางคลินิกจะคอยดูแลคุณอย่างใกล้ชิดและมีความตั้งใจในการบริการให้กับคุณอย่างดีที่สุดด้วยทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญด้านโรคและผิวหนังและการให้บริการโดยเฉพาะ
ประสบการณ์การทำงาน พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์
- อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
- อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลรามาธิบดี
- แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
- แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ
ผ่านการศึกษาจาก (Education)
- Hair Restoration Training, Korea (2015)
- Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
- Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
- Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
- Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
- Nail surgery training
- Laser expert training
- Hair expert training
- Boton university usa
ยาแอนตี้ไบโอติก รักษาฝี
ลักษณะ ฝี
เป็นฝีห้ามกินอะไร
รูปฝี
เป็นฝีบ่อย บ่ง บอก อะไร
ฝีแข็งเป็นไต
รูปฝีแข็งเป็นไต
เป็นฝีกี่วันหาย
เป็นฝีกี่วันหาย
ฝีไม่มีหัว
ฝีแข็งเป็นไต
ฝีที่ขาหนีบ
เป็นฝีห้ามกินอะไร
รูปฝี
ฝีแตก
ฝีฝักบัว คลินิกรักษาฝี ใกล้ฉัน
คลินิก ผ่าฝี ราคา
คลินิก ผ่าฝี ใกล้ ฉัน
คลินิกรักษาฝี ชลบุรี
ผ่าฝี ราคา Pantip
โรงพยาบาล รักษาฝี
คลินิก รักษา ฝี นนทบุรี
คลินิกผ่าฝี กรุงเทพ
|
ลักษณะ ฝี
ฝีฝักบัว
ฝีไม่มีหัว
ฝีแข็งเป็นไต
เป็นฝีห้ามกินอะไร
เป็นฝีกี่วันหาย
รูปฝี
ฝีที่ขาหนี เป็นฝีห้ามกินอะไร
เป็นฝีบ่อย บ่ง บอก อะไร
เป็นฝีกี่วันหาย
ฝีเกิดจากอะไร pantip
ฝีแข็งเป็นไต
ฝีที่ขาหนีบ
สาเหตุของการเกิดฝีบ่อยๆ
สมุนไพรรักษาฝี
เป็นฝีกี่วันหาย
เป็นฝี ห้ามกินอะไร pantip
ทำกรรม อะไร ถึง เป็นฝี
อาหารที่คนเป็นฝีกินได้
กินอะไรแผลผ่าฝีหายเร็ว
ฝีเกิดจากอะไร
เป็นฝีบ่อย บ่ง บอก อะไร
เป็นฝีฝักบัว ห้าม กิน อะไร
|