1.โรคผิวหนัง  ฝ้า (Melasma) 

ฝ้า เป็นปัญหาผิวพรรณที่พบได้มากในผู้หญิง โดยเฉพาะผู้หญิงเอเชียผิวคล้ำในช่วงวัยกลางคน “ฝ้า” หรือ “Melasma” เกิดจากการที่เซลล์เม็ดสีใต้ชั้นผิวหนัง หรือเม็ดสีเมลานินทำงานผิดปกติ โดยเฉพาะบริเวณโหนกแก้ม แม้ฝ้าจะไม่ใช่โรคหรือภาวะที่มีอันตราย แต่ก็ก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพจิตและทำให้ผู้หญิงหลายคนต่างหมดความมั่นใจได้ อาจมีลักษณะ

  1. โดยมักจะขึ้นเป็นวงเล็กๆสีน้ำตาลก่อน
  2. ก็จะค่อยๆขยายเป็นปื้น
  3. ฝังลึกลงไปในเซลล์ผิว
  4. เป็นปื้นสีเข้ม
  5. หรือเป็นกระจุกกระจายตัว

2. โรคฝ้า เกิดขึ้นจากสาเหตุ อะไร

สิ่งที่น่าสนใจคือ ฝ้าไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายและส่วนใหญ่พบในวัยกลางคน อายุประมาณ 30-40 ปี ซึ่งผู้หญิงมีโอกาสเป็นฝ้ามากกว่าผู้ชายถึง 9 เท่าปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดฝ้ามีมากมายหลายสาเหตุด้วยกัน ตัวอย่างเช่น

  1. รังสี UV ในแสงแดด
  2. การกินยาคุมกำเนิด
  3. การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนขณะตั้งครรภ์
  4. การเข้าสู่วัยทองและวัยหมดประจำเดือน
  5. การใช้เครื่องสำอางบางชนิดที่มีผลต่อการแพ้
  6. กระตุ้นให้เม็ดสีเมลานินบนผิวเกิดการเปลี่ยนแปลง
  7. รวมถึงกรรมพันธุ์ที่ทำให้ฝ้ากลับมาเป็นซ้ำได้บ่อยครั้ง
  8. ซึ่งคนผิวเข้มมีโอกาสเป็นฝ้าง่ายกว่าคนผิวขาวอีกด้วย

3. ทำความรู้จัก ฝ้า ว่ามีกี่ชนิด คุณเป็นฝ้าชนิดไหนกัน

ในทางการแพทย์ผิวหนัง สามารถแบ่ง “ฝ้า” ได้ 2 ประเภท คือ

3.1  ฝ้าแดด

  • รังสียูวีเอและยูวีบีจากแสงแดด
  • หลอดไฟ
  • แสงสีฟ้าจากคอมพิวเตอร์
  • แสงสีฟ้าจากสมาร์ทโฟน

3.2  ฝ้าเลือด

  • ความผิดปกติของเลือดลม
  • ความผิดปกติของฮอร์โมน
  • เกิดเป็นลักษณะผิวแดงง่าย
  • เมื่อโดนความร้อนหรือแสงแดด

4.  ทำไมถึงเป็น ฝ้า คุณได้ดูแลผิวหน้าของคุณหรือไม่

“ฝ้า” ปัญหาสุดกลุ้มใจของหลายคน เพราะเมื่อเกิดขึ้นบนใบหน้าแล้ว ก็ยากที่จะรักษาให้หายขาด “ฝ้า” จึงเป็นเรื่องที่เซ็นซิทีฟมากๆ ในปัญหาผิวหน้าทั้งหมด ลักษณะการเกิดฝ้า ฝ้ามีด้วยกัน 3 ชนิด ได้แก่

  1. ฝ้าแบบตื้น เกิดได้ง่าย อยู่ในระดับผิวหนังกำพร้า (ผิวหนังชั้นนอก)
    • มีสีน้ำตาลขอบชัด
    • รักษาให้จางลงได้ด้วยการทาครีมกันแดด
    • ยาทาฝ้าอ่อน ๆ
  2. ฝ้าแบบลึก เกิดในระดับชั้นผิวหนังแท้อยู่ลึกกว่าผิวหนังกำพร้า
    • มีสีม่วง ๆ อมน้ำเงิน
    • ขอบเขตไม่ชัดเจน
    • รักษาได้ยากกว่าฝ้าแบบตื้น
    • ไม่ค่อยหายขาด
  3. ฝ้าแบบผสม เกิดทั้งในระดับชั้นหนังกำพร้าและหนังแท้รวมกัน
    • โดยตรงกลางมักมีสีเข้มแสดงถึงฝ้าในชั้นหนังแท้
    • ส่วนขอบมักมีสีจางกว่าแสดงถึงฝ้าในหนังกำพร้า
    • ฝ้าชนิดนี้ยังเป็นฝ้าที่พบได้มากที่สุดอีกด้วย


5.  ฝ้า  มีวิธีการรักษา ให้หายได้ไหม

ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษา “ฝ้า” ให้หายขาด แต่การวิจัยและพัฒนาก็ยังพอให้มีความหวังได้อยู่บ้าง อย่างที่ทราบว่าถ้าหลีกเลี่ยง “แสงแดด” โอกาสเกิดฝ้าก็จะลดลง แต่นอกจากหลีกเลี่ยงแสงแดด ฝ้าก็ยังสามารถรักษาให้หายได้ด้วยการดูแล บำรุงอย่างต่อเนื่อง

5.1  การรักษา “ฝ้า” ด้วยทรีทเม้นท์

การใช้ทรีทเม้นท์รักษาฝ้า อาจจะใช้เวลามากกว่าการไปเลเซอร์ หรือวิธีการลอกผิว แต่เป็นวิธีที่ปลอดภัย แก้ตรงจุดและไม่เกิดผลข้างเคียง การเลือกทรีทเม้นท์ที่ดี ควรเลือกทรีทเม้นท์ที่ผ่านการทดสอบจากแพทย์ผิวหนังแล้วว่าได้ผลจริงและไม่เกิดผลข้างเคียง

5.2  การรักษาฝ้าด้วยการทายา

การรักษาฝ้าด้วยการทายา จะได้ผลดีกับผู้ที่เป็นฝ้าตื้น แต่ต้องใช้เวลาตั้งแต่ 2 เดือนขึ้นไปจึงจะเห็นผล ยารักษาฝ้ามีหลายชนิด ได้แก่ กลุ่มกรดวิตามินเอหรือเรตินอยด์ (Topical Retinoids/Retinoic Acid) กรดอะซีลาอิก (Azelaic Acid) กรดโคจิก (Kojic Acid) คอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids) กรดไกลโคลิก (Glycolic Acid) ซึ่งความเข้มข้นของสารในครีมทาฝ้าจะมีปริมาณแตกต่างกันออกไป แต่ ไม่ควรไปซื้อยามาใช้เองนะคะ เพราะอาจทำให้ผิวหน้าเกิดแสบ แดง หรือลอกเป็นขุย

5.3  การรักษาฝ้าด้วยเลเซอร์

การรักษาฝ้าด้วยเลเซอร์ เป็นวิธีการรักษาที่ค่อนข้างรวดเร็วกว่าการทา “ครีมทาฝ้า” ส่วนใหญ่จะใช้รักษาฝ้าเมื่อการใช้ยาทาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร แต่ประสิทธิภาพของการรักษายังขึ้นอยู่กับแต่ละคน ซึ่งปัจจุบันก็มีการรักษาฝ้าด้วยเลเซอร์ที่หลากหลาย เพื่อช่วยปรับสภาพหรือรักษาความผิดปกติของสีผิว เช่น เลเซอร์ระบบคิวสวิตช์ หรือ Q-switched Laser หรือ YAG Laser ที่ยิงลงไปบริเวณที่เกิดฝ้าโดยตรง และทำลายเซลล์สร้างเม็ดสีด้วยความร้อน ถึงแม้ว่าจะเป็นวิธีที่ให้ผลรวดเร็วและจัดการกับสีผิวที่ไม่สม่ำเสมอได้ เลเซอร์ก็ยังไม่ใช่ทางเลือกแรกของการรักษาฝ้าในทางการแพทย์ เพราะผลของการรักษาจะทำให้ฝ้าจางลงเพียงชั่วคราวเท่านั้นและฝ้าสามารถกลับมาใหม่ได้ตลอดเวลา หรืออาจไม่ได้ผลในบางรายด้วยซ้ำ

 


6.  การรักษาฝ้าด้วยการผลัดเซลล์ผิวหนัง

การผลัดเซลล์ผิวหนัง (Superficial Skin Peels) เป็นการใช้สารที่มีความเป็นกรดหรือสารฟอกขาว เช่น กรดไกลโคลิก หรือกรดซาลิซิลิก ช่วยเร่งให้ผิวเกิดการผลัดเซลล์ผิวหนังชั้นนอก คล้ายๆ กับการใช้เลเซอร์ เพื่อช่วยให้สีผิวมีความสม่ำเสมอมากขึ้น แต่ผลข้างเคียงของวิธีนี้คืออาจเสี่ยงกับการทำให้สีผิวเข้มมากขึ้น หน้าบาง หรือเกิดด่างขาว

6.1  การป้องกันการเกิด “ฝ้า”  เบื้องต้น ที่คุณสามารถทำได้

  1. หลีกเลี่ยง แสงแดด เมื่อไม่จำเป็น
  2. ควรใช้ร่มที่ป้องกันรังสียูวี สวมหมวก ใช้ผ้าคลุม
  3. โดยเฉพาะแดดช่วง 00-16.00 น.
  4. หลีกเลี่ยงยาที่เป็นต้นเหตุให้เกิดฝ้า
  5. ยาเพิ่มฮอร์โมนอื่นๆ เช่น ยาคุมกำเนิด อาจจะต้องเปลี่ยนการคุมกำเนิดโดยต้องปรึกษาแพทย์ก่อน
  6. ใช้ “ครีมกันแดด” ที่มี SPF30+ ขึ้นไป เพื่อป้องกันยูวีเอ
  7. มีค่าป้องกัน PA2+ ขึ้นไป เพื่อป้องกันยูวีเอ
  8. โดยควรทาครีมกันแดดก่อนที่จะออกแดด 30 นาที
  9. ใช้ครีมทาที่มีส่วนผสมของกรดผลไม้ หรือครีมไวท์เทนนิ่งอื่นๆ เพื่อป้องกันผิวหน้ามีสีเข้มขึ้น
  10. พักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6-8 ชั่วโมงต่อวัน
  11. หลีกเลี่ยงความเครียด
  12. ทานอาหารที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ
  13. ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว

 


Dsecret clinic คลินิกรักษาฝ้าอันดับ 1

นำโดย บริหารโดย คุณกิ๊ก มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ และ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังเฉพาะทาง จบ ปริญญาโท จากสหรัฐอเมริกา ที่ลงมือดูแลคนไข้เองทุกเคสด้วยระดับมืออาชีพ การันตีด้วยประสบการณ์การรักษามากกว่า 10,000 เคส พร้อมผลลัพธ์ที่ดีที่สุดและความประทับใจของคนไข้จริงจนต้องบอกต่อ

  • โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์กว่า 14 ปี
  • เน้นการรักษาให้ฝ้าหายจริง
  • รอยจางเร็ว
  • เห็นผลจริง
  • การใช้เทคโนโลยีเลเซอร์
  • การฉีดสลายฝ้าเฉพาะจุด

คุณณหมอมือเบามากถึงมากที่สุด หลังฉีดเสร็จจะเห็นได้เลยว่าไม่มีเลือดออก ไม่มีบวม ไม่มีแดง และที่สำคัญไม่แสบผิว แต่ยังคงได้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดบ่งบอกถึงความใส่ใจในทุกขั้นตอนการรักษาที่ทางคลินิกมอบให้กับคนไข้ทุกเคส การันตีได้ว่า หน้าใส ฝ้าหายแน่นอน

ประสบการณ์ มากกว่า 15 ปีของ พญ. มริญญา ผ่องผุดพันธ์

ประสบการณ์การทำงาน

  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
  • อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพบาบาลรามาธิบดี
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
  • แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ

ผ่านการศึกษาจาก ( Education )

  • Hair Restoration Training, Korea (2015)
  • Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
  • Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
  • Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
  • Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
  • Nail surgery training
  • Laser expert training
  • Hair expert training
  • Boton university usa

 

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

เป็นฝ้าใช้ครีมอะไรดี pantip
สูตรรักษาฝ้าเร่งด่วน
ยาสีฟันรักษาฝ้า
สูตรพอกหน้าแก้ฝ้า
เป็นฝ้าใช้อะไรล้างหน้าดี
หน้าเป็นฝ้าดำ
หน้าเป็นฝ้า ใช้อะไรดี
หน้าเป็นฝ้า หมองคล้ำ

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

อยากฝ้าหาย ทําไงดี
สูตรรักษาฝ้าเร่งด่วน
วิธีรักษาฝ้าให้หายขาด pantip
วิธีรักษาฝ้า แบบ ธรรมชาติ รีวิว
วิธีรักษาฝ้าแดด
วิธีรักษาฝ้าเลือด
วิธีรักษาฝ้าด้วยมะนาว
วิธีรักษาฝ้า กระ ให้หายขาดแบบธรรมชาติ

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

รักษาฝ้าแดด pantip
หน้าเป็นฝ้า
ฝ้าตรงโหนกแก้ม
ฝ้า Pantip
รักษาฝ้าแบบธรรมชาติ
วิธีรักษาฝ้าแดด
ฝ้ามีกี่ชนิด
หน้าบาง เป็นฝ้า

การค้นหาที่เกี่ยวข้อง

เป็นฝ้าใช้ครีมอะไรดี pantip
ฝ้าตรงโหนกแก้ม
ฝ้าเกิดจากฮอร์โมน
ฝ้า คือ
วิธีรักษาฝ้า
อาการเริ่มต้นของฝ้า
ยารักษาฝ้า
หน้าบาง เป็นฝ้า

 

ที่คนค้นหาเกี่ยวกับเนื้อหานี้ :